Page 67 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 67

52     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





              อวัยวะสวนใดสวนหนึ่ง การนําเอาภาพบาน รถยนต หรือสัตวเลี้ยงของผูอื่นมาใชเพื่อประโยชนของตน เนื่องจาก
              ไมถือวามีความชัดเจนเพียงพอในการจะทําใหผูอื่นเขาใจไดวาเปนผูใด
                         (2)  การรบกวนแทรกแซงความสันโดษ หรือกิจกรรมสวนตัว (Intrusion) ไดแก การลวงเกิน

              ขอบเขตสวนตัวของโจทกโดยไมไดรับอนุญาต หรือเขาไปยุงในกิจกรรมสวนตัวของเขา หรือเปนการบุกรุก

              ทางกายภาพซึ่งสภาวะความสันโดษของผูอื่น เชน การบุกรุกเขาไปในบาน ที่พัก การเขาคนถุงสินคาของผูอื่น
              โดยมิชอบในหางสรรพสินคา โดยการกระทําลักษณะดังกลาวตองเปนการกระทําที่มีลักษณะทางกายภาพ
              นอกจากนี้ การบุกรุกยังขยายรวมถึงการดักฟงบทสนทนาสวนตัวของผูอื่น ทั้งโดยวิธีการลอบตอสายโทรศัพท

              เพื่อดักฟงการสนทนา การใชไมโครโฟนขยายเสียง รวมถึงการลอบมองผานเขาไปในหนาตางบานของผูอื่น

              การโทรศัพทกอกวน โดยการกระทําดังกลาวขางตน ตองเปนการกระทําตอทรัพยสวนบุคคล ดังนั้น โจทกจึงไมมี
              สิทธิรองเรียนเมื่อการใหปากคํานั้นถูกบันทึก หรือเมื่อตํารวจปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายในการบันทึกภาพ
              พิมพลายนิ้วมือ หรือกระทําการอื่นใดโดยชอบดวยกฎหมาย ซึ่งก็รวมถึงการกระทําการใด ๆ ดังกลาวขางตน

              ในที่สาธารณะก็ไมถือวาเปนการละเมิดในสวนของการบุกรุกซึ่งสิทธิในความเปนสวนตัว แตมีบางกรณีที่แมโจทก

              จะอยูในสถานที่สาธารณะ แตเมื่อมีการบุกรุกซึ่งสิทธิในความเปนสวนตัวของโจทกก็ถือเปนความผิดฐานละเมิดได
              ตัวอยางเชน กรณีที่ผูหญิงถูกบันทึกภาพขณะที่กระโปรงของเธอถูกลมพัดเปดขึ้นกรณีนี้โจทกมีสิทธิรองทุกข
              ตอศาลได (คดี Daily Times Democrat v. Grahan, 1964)

                         (3)  การเปดเผยเรื่องราวสวนตัว (Public Disclosure of Private Facts) เปนการกระทําผิด

              โดยการนําขอมูลสวนบุคคลของโจทกซึ่งแมจะเปนเรื่องจริง และการเปดเผยนั้นไมตกเปนความผิดฐาน
              หมิ่นประมาทนําไปเปดเผยตอบุคคลอื่น เชน คดีระหวาง Brents v. Morgan ในป ค.ศ. 1927 ขอเท็จจริงคือ
              จําเลยนําหนังสือแจงเตือนการชําระหนี้ไปติดที่หนาตางโรงรถของโจทกประกาศใหบุคคลภายนอกไดทราบวา

              จําเลยใหโจทกยืมเงินและโจทกไมยอมคืนจําเลย ดังนั้น โดยองคประกอบของความผิดนั้นการเปดเผยขอเท็จจริง

              สวนตัวของผูอื่นจะถือเปนการกระทําละเมิดตอเจาของเรื่องเมื่อการเปดเผยขอเท็จจริงสวนบุคคลนั้นตองเปน
              การเปดเผยไปสูสาธารณะ ไมใชเปนการเลาสูกันฟงสวนบุคคล หรือเปดเผยใหรูกันเฉพาะกลุมเล็ก ดังนั้น
              การลงหนังสือพิมพวาผูใดไมยอมจายหนี้หรือการปดหนังสือเตือนไวบนกระจกโรงรถฝงที่ติดถนนจึงเปนการเปดเผย

              ขอเท็จจริงสวนตัวแลว

                         (4)  การไขขาวใหแพรหลายในเรื่องที่ไมเปนความจริง (False light in the public eye) ไดแก
              การทําใหโจทกเสื่อมเสียในสายตาของประชาชน โดยการใชชื่อโจทก หรือภาพแสดงถึงโจทกในเรื่องที่โจทกเอง
              ก็ไมไดเกี่ยวของดวย เชน การนํารูปภาพของคนขับรถแท็กซี่ทั่วไปไปใชในการประกอบเรื่องเกี่ยวกับคนขับรถแท็กซี่

              ที่ขี้โกงในเมือง หรือการรวมเอาชื่อของโจทกรูปภาพและลายมือของโจทกเอาไวในหองภาพคนรายในพิพิธภัณฑ

              ที่ถูกตัดสินวากระทําความผิดอาญา ทั้งที่ไมมีขอเท็จจริงวาโจทกเคยถูกตัดสินวากระทําความผิดอาญา เปนตน
              ซึ่งการกระทําละเมิดในฐานนี้ไมจําเปนตองผิดในฐานหมิ่นประมาทควบคูเสมอไป
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72