Page 66 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 66
รายงานการศึกษาวิจัย 51
เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
(1) ตองไมขัดขวางตอการเผยแพรเรื่องราวอันเกี่ยวดวยประโยชนสาธารณะ
(2) ไมคุมครองไปถึงบุคคลซึ่งไดแสดงเจตนาสละสิทธิที่จะมีความเปนอยู โดยรอดพนจาก
การรับรูของสาธารณะ
(3) ไมขัดขวางตอการสื่อสารเรื่องราวใด ๆ ซึ่งไดรับเอกสิทธิ์ภายใตกฎหมายเกี่ยวกับการ
หมิ่นประมาท แมเรื่องราวนั้นจะเปนเรื่องสวนตัวก็ตาม
(4) สิทธิในชีวิตสวนตัวยอมระงับไปเมื่อมีการเผยแพรขอเท็จจริงโดยตัวผูนั้นเอง หรือโดย
ความยินยอมของผูนั้น
อยางไรก็ตาม การเผยแพรขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิทธิสวนบุคคลนั้นจะอางเหตุวาขอความ
ที่เผยแพรนั้นเปนความจริงเพื่อไมตองรับผิดนั้นมิได แมขอความนั้นมิไดบิดเบือนตอความเปนจริง แตกอความ
เสียหายตอความรูสึกของเอกชนก็เปนการละเมิดตอสิทธินี้แลว
บทความดังกลาวถือไดวาเปนปจจัยสําคัญที่กระตุนใหมีการรับรองสิทธิสวนบุคคลและบทความนี้
ไดรับการยกยองจากนักนิติศาสตรวาเปนบทความที่มีอิทธิพลมากที่สุดเทาที่เคยเขียนกันมา
ตอมา ในป ค.ศ. 1903 มลรัฐนิวยอรค ไดออกกฎหมายรับรองสิทธิสวนบุคคล (ปจจุบันคือ
New York Civil Rights Law 1921 มาตรา 50-51) ซึ่งถือเปนกฎหมายฉบับแรกที่รับรองสิทธิสวนบุคคล
ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งบัญญัติวา “การใชชื่อ รูปภาพ หรือภาพถายของบุคคลอื่น เพื่อวัตถุประสงค
ในทางการคาหรือการโฆษณาที่เขามิไดใหความยินยอมเปนหนังสือเปนความผิดทางอาญาและเปนการละเมิด”
ตอมา มลรัฐตาง ๆ เกือบทุกมลรัฐก็ไดใหการรับรองสิทธิสวนบุคคล โดยตราเปนกฎหมายของมลรัฐ และให
ความคุมครอง “สิทธิสวนบุคคล” วาหมายถึง สิทธิที่จะมิใหมีการนําบุคลิกภาพของบุคคลไปใชแสวงหาประโยชน
โดยมิชอบ มิใหมีการโฆษณาเรื่องราวสวนตัวอันสาธารณะ ไมมีสวนเกี่ยวของโดยชอบ หรือมิใหมีการกาวลวง
โดยมิชอบตอกิจกรรมสวนตัวของบุคคลในลักษณะรุนแรง กอใหเกิดความตกใจ หรืออับอายใจ หรือเปนสิทธิ
สวนบุคคลที่จะอยูตามลําพัง และดําเนินชีวิตอยางสันโดษ
นอกจากนี้ ยังมีบทความทางวิชาการที่กอใหเกิดอิทธิพลในการพัฒนาหลักในเรื่องการละเมิด
ความเปนสวนตัวอยางมาก ไดแก บทความของ William L. Prosser ในป 1960 ไดสรางหลักการในเรื่องการละเมิด
สิทธิในความเปนสวนตัวขึ้น โดยแบงออกเปน 4 ประเภท ดังนี้
(1) การใชชื่อหรือภาพของบุคคลเพื่อผลประโยชนโดยไมไดรับความยินยอม (appropriation)
ตัวอยางคดีที่สําคัญ ไดแก คดีระหวาง Rochester และ Roberson ศาลมลรัฐนิวยอรก ไดตัดสินใหจําเลย
ชดใชคาเสียหายใหกับโจทก ดวยเหตุที่โจทกนั้น ถูกละเมิดดวยการถูกนําภาพไปใชเพื่อประโยชนในการโฆษณา
สินคาของจําเลย หรือเพื่อวัตถุประสงคอื่นใดในทางที่เปนการสงเสริมการขายของจําเลยโดยไมไดรับอนุญาต
จากโจทกผูเปนเจาของภาพดังกลาว ขอสําคัญองคประกอบในการกระทําผิด คือ การที่จําเลยไดใชชื่อ
ซึ่งเปรียบเสมือนสัญลักษณของผูอื่นนั้นเพื่อใหตนเองไดรับประโยชน เชน การปลอมตัวเปนผูอื่นเพื่อใหไดรับมา
ซึ่งขอมูลความลับของผูนั้น (คดี Goodyear Tired Rubber Co. v. Vandergriff, 1936) หรือ โดยแสดงตัวเปน
ภรรยาของโจทกเพื่อใหไดประโยชนทางการคาแกตน (คดี Burns v. Stevens, 1926) เหลานี้ลวนเปนการกระทํา
ผิดละเมิดในฐานนี้ทั้งสิ้น แตทั้งนี้ ไมรวมถึงการใชชื่อของโจทกในนวนิยาย หรือชื่อของบริษัท หรือการนําภาพ