Page 62 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 62

รายงานการศึกษาวิจัย  47
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                  (ค)  ผูควบคุมขอมูลทั้งที่เปนเอกชนและหนวยงานของรัฐจะตองจัดใหมีมาตรการ
               ทางเทคนิคหรือการจัดการองคกรเพื่อเปนหลักประกันวาจะสามารถปฏิบัติตามกฎหมายนี้ (section 9)
                                  (ง)  ในกรณีการดําเนินการกับขอมูลสวนบุคคลดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส

               (Automated procedure) ผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลอาจจัดใหมีกระบวนการเรียกขอมูลกลับคืนมาได

               ตามความเหมาะสม เพื่อประโยชนของผูทรงสิทธิหรือเพื่อประโยชนทางธุรกิจ (section 10)
                              (7)  สิทธิของผูทรงสิทธิในขอมูลสวนบุคคล (เจาของขอมูลสวนบุคคล)
                                  (ก)  ขอขอมูลที่เกี่ยวกับตน ขอทราบถึงแหลงที่ถูกเปดเผยขอมูล รวมทั้งขอทราบถึง

               วัตถุประสงคของการเก็บรวบรวมขอมูลได

                                  (ข)  หากขอมูลถูกเก็บรวบรวมโดยผูทรงสิทธิไมรู ผูทรงสิทธิมีสิทธิไดรับแจงถึงขอเท็จจริง
               ดังกลาวที่บันทึกไว ชื่อของผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลและวัตถุประสงค รวมทั้งรายชื่อผูรับขอมูลเมื่อมีการเปดเผย
               ขอมูลสวนบุคคล (section 19 a)

                                  (ค)  ผูทรงสิทธิมีสิทธิขอใหแกไขขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตนใหถูกตองซึ่งถาความถูกตอง

               อยูระหวางการโตแยง ผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลตองบันทึกไวดวย และผูทรงสิทธิมีสิทธิขอใหยับยั้งการดําเนินการ
               ใด ๆ กับขอมูลนั้นไวกอนได (section 20)
                              (8)  หนวยงานผูควบคุมดูแล supervisory authority (section 38)

                                  หนวยงานนี้มีหนาที่ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายนี้และอาจเปดเผยขอมูล

               ใหแกหนวยงานผูควบคุมดูแลอื่นได รวมถึงเปดเผยใหแกหนวยงานตางประเทศที่เปนสมาชิกสหภาพยุโรป (EU)
               เมื่อหนวยงานนั้นรองขอความชวยเหลือ เมื่อมีการกระทําความผิดหนวยงานนี้มีหนาที่รายงานใหหนวยงาน
               สอบสวนและผูทรงสิทธิทราบเพื่อดําเนินคดี นอกจากนี้ หนวยงานนี้มีอํานาจเรียกใหผูควบคุมขอมูลสวนบุคคล

               จัดสงขอมูลใด ๆ ที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ได

                        2.3.2   การคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูตองขัง 64
                              เมื่อพิจารณาวัตถุประสงคในการควบคุมและจํากัดอิสรภาพของผูตองขังแลว พบวา
               มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูตองขังไดรับการแกไขฟนฟูพฤติกรรม ใหสามารถกลับเขาสูสังคมอยางผูที่มีความรับผิดชอบ

               และไมกระทําความผิดซํ้าอีก นอกจากนั้น ผูตองขังตองมีชีวิตอยูในเรือนจําอยางปกติสุขที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อมิให

               เขาไดรับผลรายจากการตองโทษจําคุกและสามารถกลับเขาสูสังคมได ดังนั้น การควบคุมตัวผูตองขังในเรือนจํา
               จึงตองปฏิบัติตามหลักเกณฑและมาตรฐานการปฏิบัติตอผูตองขัง ซึ่งมาตรฐานการปฏิบัติตอผูตองขังในสวนที่
               เกี่ยวกับการคุมครองสิทธิความเปนอยูสวนตัวของผูตองขังของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีนั้น สรุปได ดังนี้

                              1)   ที่พักอาศัยและอาหาร  ผูตองขังจะตองทํางาน ไดรับการฝกอาชีพ หรือการแกไขฟนฟู

               รวมทั้งการทํากิจกรรมตาง ๆ รวมกัน เวนแตผูตองขังที่เปนอันตรายตอบุคคลอื่น หรือตกอยูภายใตการบังคับ
               ในเรื่องระเบียบวินัย







               64  โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิผูตองหา จําเลย และผูตองโทษในคดีอาญา , อางแลวเชิงอรรถที่ 16
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67