Page 56 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 56

รายงานการศึกษาวิจัย  41
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                  (2)  การรับรองและคุมครองสิทธิของพลเมืองในการเขาถึงขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตน
               ในระบบขอมูลสารสนเทศ
                                        นอกจากการกําหนดกฎเกณฑตาง ๆ เกี่ยวกับการจัดทําระบบขอมูลสารสนเทศ

               ทั้งกระบวนการดังกลาวขางตนแลว รัฐบัญญัติฯ ลงวันที่ 6 มกราคม 1978 ยังไดกําหนดบทบัญญัติอันเปน

               การรับรองและคุมครองสิทธิของพลเมืองในการเขาถึงขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตนในระบบขอมูลสารสนเทศ
                                        รัฐบัญญัติฯ ลงวันที่ 6 มกราคม 1978 ไดใหคํานิยามคําวา “ขอมูลสวนบุคคล”
               (une donnée à caractère personnel) วาหมายถึง ขอมูลทั้งหลายที่เกี่ยวของกับบุคคลธรรมดาที่ระบุตัวบุคคลนั้น

               หรือสามารถระบุตัวบุคคลไดไมวาโดยทางตรงหรือทางออม โดยการอางอิงถึงเลขประจําตัวหรือลักษณะ

               อยางหนึ่งอยางใดที่เปนลักษณะเฉพาะของบุคคลนั้น และคําวา“บุคคลที่เกี่ยวของกับขอมูลสวนบุคคลในระบบ
               ขอมูลสารสนเทศ” ไดแก บุคคลซึ่งขอมูลที่เกี่ยวกับตนเปนวัตถุแหงระบบขอมูลสารสนเทศ 55
                                        สิทธิของบุคคลผูเกี่ยวของกับขอมูลสวนบุคคลหรือผูเปนเจาของขอมูลสวนบุคคลไดรับ

               การรับรองและคุมครองไวหลายประการ โดยเฉพาะอยางยิ่งสิทธิในการโตแยงการเก็บขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับ

                                                                                                           56
               ตนในระบบขอมูลสารสนเทศหรือโตแยงการนําขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตนไปใชประโยชนในทางพาณิชย
               สิทธิในการขอใหผูจัดทําระบบขอมูลสารสนเทศแกไขเพิ่มเติม ทําใหชัดเจนขึ้น ปรับปรุงใหทันสมัยหรือลบขอมูล
               สวนบุคคลของตนที่ไมถูกตอง ไมครบถวนสมบูรณ คลุมเครือหรือซึ่งการเก็บรวบรวม การนําไปใชประโยชน

                                                                 57
               หรือการเก็บรักษาขอมูลสวนบุคคลนั้นเปนการตองหาม  สิทธิในการไดรับการเปดเผยขอมูลสวนบุคคล
               ที่เกี่ยวกับตน  และสิทธิที่จะไดรับสําเนาขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตน
                          58
                                                                         59
                              2)   มิติทับซอนระหวางการใชสิทธิเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลกับการใชสิทธิในชีวิตสวนตัว
               ของบุคคล

                                  ขอมูลสวนบุคคลตามนัยแหงรัฐบัญญัติฯ ลงวันที่ 6 มกราคม 1978 มีขอบเขตที่กวางขวาง

               มากและครอบคลุมขอมูลในหลายลักษณะ ซึ่งอาจมีความสัมพันธกับสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลที่ไดรับ
               ความคุมครอง ตามมาตรา 8 วรรคหนึ่ง ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ
               ขั้นพื้นฐาน และมาตรา 9 แหงประมวลกฎหมายแพง ดังนั้น การเขาถึงขอมูลสวนบุคคลของตนในบางกรณี

               ยอมเปนการใชสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลดวยในขณะเดียวกัน ในกรณีเชนนั้น การที่องคกรของรัฐหรือองคกร

               เอกชนปฏิเสธมิใหบุคคลที่เกี่ยวของกับขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับตน ซึ่งจัดเก็บไวในระบบขอมูลสารสนเทศ
               ที่องคกรนั้นจัดทําขึ้นเขาตรวจดูขอมูลดังกลาว จึงมิไดมีผลแตเพียงเปนการไมปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงรัฐบัญญัติฯ
               ลงวันที่ 6 มกราคม 1978 แตเพียงอยางเดียว หากแตยังถือวาเปนการดําเนินการที่เปนการแทรกแซงหรือขัดตอ







               55  มาตรา 2 รัฐบัญญัติฯ ลงวันที่ 6 มกราคม 1978
               56  มาตรา 38 รัฐบัญญัติฯ ลงวันที่ 6 มกราคม 1978
               57  มาตรา 40 รัฐบัญญัติฯ ลงวันที่ 6 มกราคม 1978
               58  มาตรา 39-I-4° รัฐบัญญัติฯ ลงวันที่ 6 มกราคม 1978
               59  มาตรา 39-I วรรคสอง รัฐบัญญัติฯ ลงวันที่ 6 มกราคม 1978
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61