Page 59 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 59

44     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





              2.3 สิทธิในความเปนสวนตัว และการรับรองและคุมครองในประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี
                       สิทธิในความเปนอยูสวนตัวของประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีนั้น เปนสวนหนึ่งของการคุมครอง
              สิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแหงสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี (Basic law or grundgeset,

              the german constitution) เพื่อใชเปนการปองกันการกระทําของรัฐในการละเมิดสิทธิเสรีภาพของปจเจกบุคคล

              ในมาตรา 1 และมาตรา 2 บัญญัติใหความคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยอันเปนหลักการพื้นฐาน คือ
              รัฐตองเคารพสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยที่ปรากฏในกฎหมายพื้นฐานโดยเฉพาะอยางยิ่งสิทธิของมนุษยที่จะพัฒนา
              บุคลิกภาพของตนโดยเสรี ทั้งสองมาตรานี้เองกอใหเกิดการรับรองสิทธิในความมีตัวตนของบุคคล ภายใตสิทธิ

              ดังกลาวปจเจกชนมีอํานาจในการควบคุม พัฒนา และแสวงหาประโยชนในสิทธิความเปนอยูสวนตัวของตน

              และสิทธิในการไดรับความคุมครองขอมูลสวนบุคคล ไดแก จดหมาย หรือพัสดุไปรษณีย และการติดตอสื่อสาร
              จากการกระทําใดที่เปนการแทรกแซงใด ๆ
                       2.3.1   การคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคลทั่วไป

                             ในป ค.ศ 1954 ในคดี BGHZ 13} 334 (1954) ศาลรัฐธรรมนูญแหงสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

              ไดวินิจฉัยไววาสิทธิในความมีตัวตนของบุคคลประกอบไปดวยสิทธิ 2 ประการ คือ
                             (1)  สิทธิในความเปนสวนตัว
                             (2)  สิทธิในการใชประโยชนในชื่อเสียง รูปพรรณ หรือเรียกวาสิทธิในความมีตัวตนของตนเอง

                             โดยสิทธิในสวนหลังนี้มีความสําคัญเพราะไมเพียงแตเปนสิ่งที่พิสูจนหรือจําแนกตัวบุคคล

              ไดเทานั้น แตยังเปนสิ่งที่แสดงออกถึงความเปนตัวตนของบุคคลนั้นดวย ดังนั้น ชื่อของบุคคลจึงพึงไดรับ
              ความคุมครองในฐานะที่ชื่อเปนวัตถุแหงสิทธิตามสภาพบุคคลประการหนึ่งซึ่งนอกจาก ชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุล
              แลว กฎหมายใหความคุมครองไปถึงชื่อที่ใชเรียกขานบุคคลอื่น ๆ เชน นามแฝง ฉายา บรรดาศักดิ์ หรือราชทินนาม

              ที่กษัตริยพระราชทานตามราชประเพณีโบราณ กรณีทํานองเดียวกันกับรูปภาพบุคคล บุคคลยอมมีสิทธิในรูปภาพ

              มีสิทธิที่จะไมใหผูใดจําลองภาพของตนไปทํางานเขียน หรือแสดงละคร หรือถายภาพยนตร ซึ่งในความเห็น
              ทางกฎหมายสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีถือวาเปนการละเมิดสิทธิในความเปนอยูสวนตัว และนอกจากนี้ ยังไดรับ
              ความคุมครองตามประมวลกฎหมายแพงภายใตชื่อ หลักการคุมครอง “สิทธิอื่น ๆ (Other right)” มาตรา 823 (1)

              ในการรับรองสิทธิและความคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและสิทธิในการพัฒนาบุคลิกภาพหรือความมีตัวตน

              ของบุคคลในรูปภาพและสิทธิในการใชนามของบุคคล รวมถึงสิทธิในขอมูลสวนบุคคล (Personal Data) และขอมูล
              เกี่ยวกับบุคคลทั่วไปบนพื้นฐานของมาตรา 826 แหงประมวลกฎหมายแพง บุคคลใดจงใจทําใหคนอื่นไดรับ
              ความเสียหายในการละเมิดศีลธรรมอันดีตองชดใชคาเสียหายจากการกระทําดังกลาว 62

                             รูปแบบการละเมิดสิทธิเกี่ยวกับบุคคลของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ไดมีการแบงออกเปน

              5 กรณี (สรุปจาก Beverly-Smith, Hew Ohly and Lucass-Scholoetter. Privacy, Property and Personality)
              คือ 63




              62  ปยะพร  วงศเบี้ยสัจจ, “การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลโดยธนาคารพาณิชยกับมาตรการทางกฎหมายในการคุมครองขอมูล
                สวนบุคคล”, วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, 2551 น.35 – 37
              63  ขอมูลอางอิงจาก http://law.soc.ku.ac.th/?p=2459
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64