Page 60 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 60

รายงานการศึกษาวิจัย  45
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                              (1)  การลวงลํ้าเขาไปในความเปนสวนตัวของบุคคล (intrusion into private sphere) เชน
               การลักลอบถายภาพสวนตัวของบุคคล (คดี Caroline II, BGHZ 131, 332.)
                              (2)  การเผยแพรขอมูลสวนตัวของบุคคล (the publication of personal information) เชน

               การเผยแพรชื่อ หรือขอมูลสวนตัวของบุคคล (คดี Lebach, BVerfG 35, 202.)

                              (3)  การกระทําใหบุคคลเสื่อมเสียชื่อเสียง (defamation) กรณีนี้จะมีลักษณะที่คลายคลึงกับ
               การหมิ่นประมาทตามกฎหมายไทย
                              (4)  การไขขาวแพรหลายในขอความอันเปนเท็จ (false light) เชน การนําภาพของบุคคล

               ไปประกอบขอความที่ไมตรงกับความจริง เชน นําภาพของบุคคลไปประกอบกับยากระตุนอารมณทางเพศเพื่อให

               คนทั่วไปเขาใจวาบุคคลในภาพในผูเสนอขาย (presenter) ของยาดังกลาว (คดี Herrenreiter, BGHZ 26, 349.)
                              (5)  การหาประโยชนเชิงพาณิชยจากสิทธิเกี่ยวกับบุคคล (appropriation of personality)
               เชน การนําภาพของบุคคลไปใชประกอบการโฆษณา (แมโฆษณานั้นจะไมเสื่อมเสีย แตเปนโฆษณาที่ไมไดรับ

               อนุญาตจากบุคคลอยูที่อยูภาพ)

                              นอกจากนั้น สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนียังมีกฎหมายวาดวยการคุมครองขอมูลสวนบุคคล
               ไดแก Federal Data Protection Act ซึ่งมีสาระสําคัญ ดังนี้
                              (1)  ขอบเขตการบังคับใช (section 1)

                                     กฎหมายนี้ใชบังคับแกหนวยงานของรัฐทั้งระดับสหพันธและระดับมลรัฐที่ใชอํานาจ

               ตามกฎหมายสหพันธหรือเปนหนวยงานของศาล และใหใชบังคับแกเอกชนซึ่งเก็บรวบรวม ใชหรือดําเนินการ
               กับขอมูลสวนบุคคล ไมวาดวยวิธีทางอิเล็กทรอนิกสหรือไมก็ตาม
                                     อนึ่ง คําวา “ดําเนินการ (process)” ไดมีบทนิยามไวหมายถึง การเก็บรักษา

               การแกไขปรับปรุง การยับยั้ง การลบ หรือการเปดเผยขอมูลสวนบุคคล ซึ่งการเปดเผยไดอธิบายดวยวาหมายถึง

               การเปดเผยตอบุคคลที่สามหรือการสงผานบุคคลที่สามหรือสงใหบุคคลที่สามารถเรียกดูได
                              (2)  การเก็บรวบรวม ใชและการดําเนินการที่ชอบดวยกฎหมาย ไดแก (section 4)
                                  (ก)  เปนไปตามกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นหรือไดรับความยินยอมจากผูทรงสิทธิ

               ในขอมูล (the data subject) ซึ่งหมายถึงเจาของขอมูลสวนบุคคล

                                  (ข)  การเก็บรวบรวมโดยปราศจากความยินยอมใหกระทําไดในกรณี
                                       ก. เปนการปฏิบัติตามกฎหมาย
                                       ข. เปนอํานาจหนาที่ของฝายปกครอง

                                       ค. การเก็บขอมูลจากผูทรงสิทธิโดยตรงจะทําใหขอมูลไมถูกตองและไมกอความ

               เสียหายแกผูทรงสิทธิ
                                  (ค)  เมื่อผูควบคุมขอมูลสวนบุคคลทําการเก็บรวบรวมจะตองแจงรายละเอียดตอไปนี้
               เวนแตผูทรงสิทธิจะไดทราบอยูแลว

                                       ก.  ชื่อหรือสิ่งที่บอกใหรูวาผูควบคุมขอมูลเปนใคร

                                       ข.  วัตถุประสงคของการเก็บรวบรวม การใช และการดําเนินการ
                                       ค. แหลงที่มาของขอมูลเฉพาะกรณีที่ผูทรงสิทธิไมรูถึงการเปดเผยขอมูลนั้น
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65