Page 58 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 58

รายงานการศึกษาวิจัย  43
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                              ดังนั้น การเขาถึงขอมูลสวนบุคคลที่เกี่ยวกับชีวิตครอบครัวและชีวิตสวนตัวของบุคคล
               มิเพียงแตเปนสิทธิทั่วไปของบุคคลที่เกี่ยวของกับขอมูลสวนบุคคลในการเขาตรวจดูขอมูลเทานั้น (un simple
               droit général d’accès à des données personnelles) หากแตยังเปนสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล (droit

               à la vie privée et familiale) ที่ไดรับการรับรองและคุมครองไวในอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครอง

               สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน และมาตรา 9 แหงประมวลกฎหมายแพงอีกดวย
                        2.2.3   การคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูตองขัง 61
                              ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (Code de la procédure pénale) ของสาธารณรัฐ

               ฝรั่งเศสไดบัญญัติมาตรการตาง ๆ ในการคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูตองขังของสาธารณรัฐฝรั่งเศส

               ไวสรุปไดดังนี้
                              1)   การติดตอกับครอบครัว ถือเปนมาตรการสําคัญที่ขาดไมไดและเปนมาตรการที่จะทําให
               ผูตองโทษนั้นปรับตัวเขากับสังคมเมื่อพนโทษได โดยมีมาตรการตาง ๆ ดังนี้

                                  - สิทธิที่ไดรับการเยี่ยม ผูตองขังมีสิทธิที่จะไดรับการเยี่ยมเยียนจากสมาชิกในครอบครัว

               รวมทั้งบุคคลอื่นดวย อยางนอย 1 ครั้งตอสัปดาห (มาตรา D. 410 วรรค 2) ในวัน เวลา และระยะเวลาที่กําหนดไว
               และสถานที่เยี่ยมนั้นจะตองปราศจากสิ่งกีดกั้นที่จะแยกผูเยี่ยมและผูตองขังออกจากกัน ดังนั้น เพื่อความปลอดภัย
               จึงอาจมีการคนตัวผูตองขังกอนและหลังการเยี่ยมได

                                  - การติดตอสื่อสารทางจดหมาย โทรศัพท ผูตองขังมีสิทธิติดตอกับบุคคลทุกคน

               ทางจดหมายได แตเรือนจําอาจหามติดตอกับบุคคลบางประเภทได หากจะเปนการทําใหการปรับตัวคืนสูสังคม
               ลมเหลว แตทั้งนี้จะตัดสิทธิไมใหติดตอกับคูสมรส หรือครอบครัวไมได (มาตรา D. 414) จดหมายที่สงและรับ
               จะตองถูกตรวจสอบเนื้อหา เวนแตเปนจดหมายที่ติดตอกับทนายความ นอกจากนั้น หากมีความจําเปนอยางยิ่ง

               ก็อาจขอโทรศัพทไปยังภายนอกได

                              2)   การใชชีวิตสวนตัวของผูตองขัง
                                  - การอานหนังสือ ผูตองขังมีสิทธิซื้อหนังสือ แตหนังสือก็อาจถูกตรวจสอบไดวาเหมาะสม
               หรือไม (มาตรา D. 444)

                                  - การฟงวิทยุและดูโทรทัศน ผูตองขังมีสิทธิฟงวิทยุและดูโทรทัศนแตตองไมรบกวนผูอื่น

               (มาตรา D. 431)
                                  - การทํางานสวนตัวอื่น ๆ ผูตองขังมีสิทธิทํางานสวนตัวอื่น ๆ ได


















               61  โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิผูตองหา จําเลย และผูตองโทษในคดีอาญา , อางแลวเชิงอรรถที่ 16
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63