Page 32 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 32

รายงานการศึกษาวิจัย  17
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                              หลักความจําเปนมีความสําคัญอยางยิ่งในการควบคุมการใชอํานาจมหาชนที่มีผลกระทบตอ
               สิทธิขั้นพื้นฐาน ซึ่งเคยมีกรณีตัวอยางที่เกิดขึ้นในป ค.ศ. 1968 ที่กรุงเบอรลิน เจาหนาที่ตํารวจไดออกคําสั่ง
               หามมิใหมีการเดินขบวน แตก็มีบุคคลกลุมเล็ก ๆ ไดนําโปสเตอรแผนเล็ก ๆ ไปติดที่โคมไฟตามถนน และสถานที่อื่น ๆ

               เพื่อเชิญชวนใหประชาชนมารวมเดินขบวนในวัน เวลาและสถานที่ ที่ปรากฏในแผนโปสเตอรนั้น ตํารวจ

               ไดทําการจับกุมบุคคลซึ่งทําการติดแผนโปสเตอรนั้น โดยไดควบคุมตัวบุคคลผูนั้นไวจนกระทั่งถึงวันที่มีการ
               เดินขบวน และตอมาไดมีการรองไปยังศาลปกครองชั้นสูงของเบอรลิน ศาลไดวินิจฉัยวาการจับกุมบุคคล
               ดังกลาวนั้นไมมีความจําเปนสําหรับการรักษาความสงบของสังคม เพราะการริบแผนประกาศดังกลาวนั้น

               ถือวาเปนการเพียงพอแลว 14

                              3)   ความไดสัดสวนในความหมายอยางแคบ หรือความสมเหตุสมผลระหวางผลกระทบ
               ที่เกิดขึ้นกับประโยชนที่ไดจากการดําเนินการตามมาตรการดังกลาว ไดแก การไดรับผลกระทบอันเกิดจากการแทรกแซง
               ในเสรีภาพของปจเจกบุคคลจะตองไมอยูนอกเหนือจากขอบเขตความสัมพันธของประโยชนอันเปนเปาหมาย

               ของสาธารณะที่กําหนดไว ประโยชนที่ไดจากการดําเนินการตามมาตรการนั้นจะตองมีนํ้าหนักมากกวาผลเสีย

               ที่เกิดจากมาตรการดังกลาว ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธเคยวินิจฉัยไววามาตรการอันใดอันหนึ่งจะตองไมกอใหเกิด
               ภาระแกผูไดรับผลกระทบจนเกินกวาขอบเขต และผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นจะตองเปนไปอยางมีเหตุผล ดังนั้น
               หลักความไดสัดสวนจึงเปนการยืนยันถึงความสมควร หรือความสมเหตุสมผล อันมีความใกลเคียงอยางยิ่ง

               กับความหมายของหลักความไดสัดสวนในความหมายอยางแคบ  15

                              หลักความไดสัดสวนตามหลักกฎหมายของประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีนั้น
               ถือวาเปนหลักกฎหมายมหาชนทั่วไปที่มิไดบัญญัติไวเปนลายลักษณอักษรแตอยางใด แตไดรับการ
               ยอมรับวาเปนหลักกฎหมายทั่วไปอยางกวางขวาง มิใชเฉพาะแตในประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีเทานั้น

               ยังรวมถึงออสเตรเลีย สาธารณรัฐฝรั่งเศส สวิตเซอรแลนด และประเทศอื่น ๆ นอกจากนั้นยังไดรับการยอมรับวา

               เปนหลักกฎหมายในกฎหมายระหวางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งเปนหลักที่ไดรับการยอมรับจาก
               สหภาพยุโรป ทั้งนี้ เพราะรากฐานของหลักความไดสัดสวนนั้นมีพื้นฐานมาจากหลักความยุติธรรม อันเปน
               พื้นฐานของหลักกฎหมายทั่วไป และเปนหลักที่คํานึงถึงความยุติธรรมทั้งในสวนของปจเจกบุคคลและความ

               ยุติธรรมตอสังคมโดยรวมดวย





















               14  M.Ch.Jakops, Der GrundsatZ der Verhaelthismaessigkeit,1981 S.68
               15  M.GentZ, NJW 1968,S.1600 (1604); P.Badura,1986,S.26
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37