Page 30 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 30
รายงานการศึกษาวิจัย 15
เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
1.5 การแทรกแซงสิทธิในความเปนสวนตัวโดยชอบดวยกฎหมาย
แมวาสิทธิในความเปนอยูสวนตัวถือเปนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีที่มาจากแนวความคิด
เรื่องสิทธิตามธรรมชาติที่มีความเชื่อวาเหนืออํานาจสูงสุดของมนุษย คือ ธรรมชาติ และมนุษยถือกําเนิดขึ้นมา
พรอมกับสิทธิในชีวิต สิทธิในทรัพยสิน เสรีภาพในรางกายและความเสมอภาคกันสิทธิ และเสรีภาพเหลานี้
เปนสิ่งที่ติดตัวมนุษยมาตั้งแตเกิด ผูใชอํานาจปกครองไมมีอํานาจที่จะลบลางและมิอาจจะกาวลวงได ดังนั้น
บุคคลทุกคนยอมมีสิทธิและเสรีภาพในความเปนอยูสวนตัว และสามารถกระทําการใด ๆ ก็ไดตราบเทาที่ไมกระทบ
สิทธิของบุคคลอื่นและไมผิดกฎหมาย แตในบางกรณี รัฐจําเปนอาจตองเขาแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
ของบุคคลได โดยอาศัยเหตุผลเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยของสวนรวม หรือเพื่อประโยชนสาธารณะ
ซึ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 29 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา “การจํากัดสิทธิ
และเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไวจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กําหนดไวและเทาที่จําเปน...”
โดยวัตถุประสงคหรือเหตุผลในการแทรกแซงสิทธิความเปนสวนตัวของรัฐนั้น มีความมุงหมายที่สําคัญ
สรุปได 3 ประการ ไดแก
1.5.1 เพื่อคุมครองสิทธิของบุคคลอื่น
เนื่องจากตามแนวความคิดของกฎหมายธรรมชาติถือวามนุษยทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพอยาง
เทาเทียมกัน สิทธิ เสรีภาพของบุคคลหนึ่งยอมมีขอจํากัดอยูที่สิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ๆ โดยหลัก
ทั่วไปแลวผลประโยชนของปจเจกบุคคลซึ่งมิไดมีความมุงหมายเพื่อกอใหเกิดความเสียหายแกบุคคลที่สาม และ
ผลประโยชนดังกลาวเปนผลประโยชนที่เปนสาระสําคัญในทางสวนบุคคล ดังนั้น การละเมิดผลประโยชนของ
บุคคลอื่นก็ดีการทําใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอื่นก็ดี หรือการทําใหเกิดความเสียเปรียบแกบุคคลที่สามก็ดี
กรณีดังกลาวจึงเปนการละเมิดสิทธิของบุคคลอื่น ดังนั้น เมื่อมีรัฐเกิดขึ้น “สิทธิบุคคลอื่น” จึงไดรับการรับรอง
โดยกฎเกณฑของรัฐ และถือเปนขอจํากัดของสิทธิและเสรีภาพของบุคคลประการหนึ่ง
1.5.2 เพื่อการดํารงอยูและเพื่อความสามารถในการทําภาระหนาที่ของรัฐ
ตามพื้นฐานของทฤษฎีสัญญาประชาคมนั้น ความมั่นคงของรัฐเปนผลมาจากการที่รัฐเขามา
ทําหนาที่ใหความคุมครองแกสิทธิของปจเจกบุคคล ดังนั้น ความมั่นคงในการดํารงอยูของรัฐและความ
สามารถในการทําภาระหนาที่ของรัฐจึงเปนเหตุผลอันชอบธรรมสําหรับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพตาม
ธรรมชาติของบุคคลได
1.5.3 เพื่อประโยชนสาธารณะ
ประโยชนสาธารณะ ถือวาเปนเหตุผลที่สําคัญประการหนึ่งในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ
โดยลักษณะของ “ประโยชนสาธารณะ” ในกฎหมายมหาชนมีลักษณะ ดังนี้
1) ประโยชนสาธารณะ คือ การตอบสนองความตองการของคนสวนใหญที่ไมใชผูดําเนินการ
นั้น ๆ เอง
2) ผูที่จะบอกวาอะไรคือประโยชนสาธารณะ โดยหลักก็คือรัฐสภา ซึ่งเปนผูแทนของปวงชน
และศาล