Page 105 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 1 ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2557
P. 105

103
                                                   ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                                                   ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๑  ระหว่าง ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗







                            ส่วนที่ ๑ การอนุวัติกฎหมายภายในให้เป็นไปตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและ
                                     การประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี

                                     (CAT) และเพื่อเตรียมการรองรับการดำาเนินการตามพิธีสารเลือกรับของ
                                     อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย

                                     ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี (OPCAT)







                     ๑.๑  การอนุวัติกฎหมายภายในให้เป็นไปตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและ
                           การประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี (CAT)


                           ๑.๑.๑  ความเป็นมา
                                  ๑)  สมัชช�ใหญ่สหประช�ช�ติได้รับรองอนุสัญญ�ต่อต้�นก�รทรม�น และก�รประติบัติ
                                                            ่
                     หรือก�รลงโทษอื่นที่โหดร้�ย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ยำ�ยีศักดิ์ศรี (CAT) เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๗
                     (ค.ศ. ๑๙๘๔) และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๓๐ (ค.ศ. ๑๙๘๗) ประเทศไทยเข้าเป็นภาคี

                     แห่งอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๐ และอนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน
                     ๒๕๕๐ โดยได้ทำาคำาแถลงตีความและจัดทำาข้อสงวน ดังนี้

                                      ๑.๑)  การแถลงตีความเข้าใจในการดำาเนินการตามบทบัญญัติของอนุสัญญาฯ

                     ว่าจะเป็นไปตามประมวลกฎหมายอาญาของไทยที่ใช้ในปัจจุบันใน ๓ ข้อ คือ ข้อ ๑ นิยามของคำาว่า
                     “การทรมาน” ข้อ ๔ การกำาหนดให้การทรมานเป็นความผิดที่ลงโทษได้ตามกฎหมายอาญา และ
                     การนำาหลักการนี้ไปใช้กับการพยายาม การสมรู้ร่วมคิด และการมีส่วนร่วมในการทรมาน และข้อ ๕

                     การกำาหนดเขตอำานาจเหนือความผิดว่าด้วยการทรมาน

                                      ๑.๒)  การจัดทำาข้อสงวน ๑ ข้อ คือ ในข้อ ๓๐ วรรคหนึ่ง เรื่องการนำาข้อ
                     พิพาทระหว่างรัฐภาคีเกี่ยวกับการตีความหรือการใช้บังคับของอนุสัญญาฯ ที่ไม่สามารถระงับได้โดย
                     การเจรจาขึ้นสู่การวินิจฉัยของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หากคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งร้องขอ

                     เว้นแต่จะเห็นสมควรเป็นกรณีๆ ไป

                                  ๒)  อนุสัญญ�ต่อต้�นก�รทรม�นฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อระงับและยับยั้งการทรมาน
                                                                       ๖๒
                     โดยอนุสัญญาฯ ได้กำาหนดคำานิยามของการทรมานไว้ในข้อ ๑  ซึ่งมีองค์ประกอบสำาคัญ ๓ ประการ
                     ดังนี้



                     ๖๒  อนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ (CAT) ข้อที่ ๑ อนุ ๑ เพื่อความมุ่งประสงค์ของอนุสัญญานี้ คำาว่า “การทรมาน”
                         หมายถึง การกระทำาใดก็ตามโดยเจตนาที่ทำาให้เกิดความเจ็บปวดหรือความทุกข์ทรมานอย่างสาหัส ไม่ว่า
                         ทางกายหรือจิตใจต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มาซึ่งข้อสนเทศหรือคำาสารภาพจาก
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110