Page 94 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 94

ที่องค์การสหประชาชาติและองค์การสิทธิมนุษยชนสากลได้กำาหนดขอบเขตของอาชญากรรมร้ายแรง
                     ประกอบด้วย

                             อ�ชญ�กรรมที่เป็นก�รกระทำ�ต่อคว�มมั่นคงของรัฐ หรือคดีอ�ญ�ที่ร้�ยแรงท�งทห�ร

                             ประเทศที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิตส่วนใหญ่และประเทศส่วนหนึ่งยกเลิกการใช้
                     โทษประหารชีวิตสำาหรับอาชญากรรมทั่วไป หากแต่มีการคงโทษประหารชีวิตไว้สำาหรับการกระทำาผิด
                     ที่เกี่ยวข้องกับความผิดทางการเมือง  ซึ่งรวมทั้งพฤติกรรมการกระทำาผิดที่ละเมิดต่อความมั่นคง

                     ของประเทศและความสงบเรียบร้อยของสังคม การละเมิดกฎอัยการศึก หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

                     กับคดีอาญาที่ร้ายแรงทางทหารในขณะเกิดภาวะสงคราม การก่อการร้าย และการกบฏ โดยส่วนหนึ่ง
                     เป็นพฤติกรรมการกระทำาผิดที่เกี่ยวข้องกับการสูญเสียชีวิตโดยเป็นการฆาตกรรมโดยเจตนา
                     แต่หลายประเทศได้กำาหนดให้โทษประหารชีวิตสามารถบังคับใช้สำาหรับพฤติกรรมการกระทำาผิด

                     ที่ไม่ได้มีลักษณะเป็นอาชญากรรมร้ายแรง  โดยให้เหตุผลว่าเป็นการกระทำาผิดที่เกี่ยวข้องกับ

                     ความมั่นคงของรัฐ (International Commission against the Death Penalty, 2013)


                             อ�ชญ�กรรมที่มีผลต่อก�รทำ�ให้ผู้อื่นสูญเสียชีวิต

                             สำาหรับประเทศที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิต จะมีการใช้โทษประหารชีวิตสำาหรับอาชญากรรม

                     ที่มีความรุนแรง หรืออาชญากรรมในคดีอุกฉกรรจ์ เช่น การลอบวางเพลิง การทำาร้ายร่างกายจน
                     ได้รับบาดเจ็บสาหัส การลักขโมยหรือปล้นจี้ โดยทำาให้ผู้อื่นเสียชีวิต อย่างไรก็ตาม การฆาตกรรม
                     ในคดีอุกฉกรรจ์โดยการฆาตกรรมดังกล่าวไม่ได้เกิดจากเจตนา ในขณะที่การประกอบอาชญากรรม

                     ประเภทอื่น ๆ  ได้ถูกกำาหนดให้เป็นพฤติกรรมการกระทำาผิดที่ต้องได้รับโทษประหารชีวิตในบาง

                     ประเทศ อย่างไรก็ตาม พฤติกรรมการฆาตกรรมโดยขาดเจตนาดังกล่าวไม่ควรจัดเป็นอาชญากรรม
                     ร้ายแรง  แม้ว่าจะก่อให้เกิดการสูญเสียชีวิตของผู้อื่น  เพราะเป็นพฤติกรรมการกระทำาผิดที่ไม่ได้
                     มีเจตนาในการฆาตกรรมอย่างแท้จริง  (International  Commission  against  the  Death

                     Penalty, 2013)



                             ก�รกระทำ�ผิดที่เกี่ยวข้องกับย�เสพติด
                             การกระทำาผิดที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดซึ่งถือว่าเป็นอาชญากรรมและควรได้รับโทษประหาร

                     ชีวิต รวมทั้งการครอบครอง การผลิต การค้ายาเสพติด หรือการใช้สารเสพติดผิดกฎหมาย ซึ่งการต้อง

                     โทษประหารชีวิตจะขั้นอยู่กับประเภทและปริมาณของสารเสพติดที่กระทำาผิด  สำาหรับกฎหมาย
                     ของบางประเทศแม้จะมีการกระทำาผิดที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดปริมาณไม่มากก็ต้องโทษประหารชีวิต
                     ในขณะที่บางประเทศการครอบครองยาเสพติดังกล่าวไม่ถูกลงโทษถึงขั้นโทษประหารชีวิต

                     แต่อาจถือเป็นความผิดการค้ายาเสพติดซึ่งอาจถูกลงโทษประหารชีวิตได้  (International

                     Commission against the Death Penalty, 2013)








                                                                       โทษประหารชีวิตในประเทศไทย 81
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99