Page 93 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 93

อ�ชญ�กรรมร้�ยแรง (Most Serious Crime)
                           สำาหรับความหมายและขอบเขตของอาชญากรรมร้ายแรง ประกอบด้วย

                           ก�รกำ�หนดขอบเขตของโทษประห�รชีวิตสำ�หรับอ�ชญ�กรรมร้�ยแรง

                           กฎหมายระหว่างประเทศที่กำาหนดเป็นกฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาคดี
                  ให้มีการกำาหนดโทษประหารชีวิต ได้แก่ มาตรา ๖ ตาม ICCPR ได้กำาหนดในย่อหน้าที่ ๒ เกี่ยวกับ
                  “อาชญากรรมร้ายแรง” คือ ในประเทศที่ยังไม่ได้มีการยกเลิกการใช้โทษประหารชีวิต การพิจารณา

                  คดีตัดสินโทษประหารชีวิตจะถูกนำามาบังคับใช้สำาหรับอาชญากรรมร้ายแรงตามกฎหมายที่มีการ

                  บังคับใช้ในขณะที่ประกอบอาชญากรรม  (International  Commission  against  the  Death
                  Penalty, 2013)
                           อย่างไรก็ตาม อาชญากรรมร้ายแรงมีความแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ตามวัฒนธรรม

                  ศาสนาและบริบททางการเมือง มาตรา ๖ ของ ICCPR ได้กำาหนดทิศทางของการยกเลิกโทษประหาร

                  ชีวิตจากการกำาหนดพันธะสัญญาระหว่างประเทศ โดยได้กำาหนดขอบเขตของโทษประหารชีวิต คือ
                           “จะต้องไม่มีการใช้โทษประหารชีวิตสำาหรับอาชญากรรมอื่น นอกจากอาชญากรรมที่กระทำา
                  โดยเจตนาทำาให้ผู้อื่นเสียชีวิตหรือการกระทำาที่มีผลอันตรายร้ายแรงอย่างที่สุด” หรือ อาจกล่าวได้

                  ว่าพฤติกรรมที่มีลักษณะคุกคามชีวิตเป็นพฤติกรรมที่จัดว่าเป็นพฤติกรรมการกระทำาผิดที่ร้ายแรง

                           ในปี  ค.ศ.  ๒๐๐๖  ผู้รายงานพิเศษขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยการฆาตกรรม
                  หรือการลงโทษประหารชีวิต  (UN  Special  Rapporteur  on  extrajudicial,  summary  or
                  arbitrary executions) ได้ให้นิยามของอาชญากรรมร้ายแรงที่สุด ว่ากรณีการกระทำาผิดที่ได้แสดง

                  ให้เห็นว่ามีเจตนาในการฆาตกรรมโดยมีผลของการกระทำา คือ ทำาให้ผู้อื่นเสียชีวิต (International

                  Commission against the Death Penalty, 2013)
                           อย่างไรก็ตาม  การใช้โทษประหารชีวิตมีการใช้ตามบริบทที่เหมาะสมของแต่ละประเทศ
                  หากแต่มีการคำานึงถึงเจตนาในการประกอบอาชญากรรมและส่งผลให้ผู้อื่นเสียชีวิตเป็นสำาคัญ

                  หากแต่มีประเทศส่วนหนึ่งที่มีการใช้โทษประหารชีวิตโดยไม่ได้คำานึงถึงข้อกำาหนดดังกล่าว  หากแต่

                  มีการใช้โทษประหารชีวิตตามกฎหมายของประเทศ อาทิ ประเทศไนจีเรียที่มีการใช้โทษประหารชีวิต
                  สำาหรับผู้ที่มีพฤติกรรมรักร่วมเพศ ที่มีความแตกต่างจากบุคคลอื่นทั่วไปในสังคม นอกจากนี้ ประเทศ
                  สมาชิกขององค์การสหประชาชาติจำานวน ๕๓ ประเทศที่มีการพักการใช้โทษประหารชีวิตได้แถลงว่า

                  ประเภทของอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้โทษประหารชีวิตควรมีการประยุกต์ โดยการ

                  กำาหนดตามความเหมาะสมของแต่ละประเทศ ขึ้นอยู่กับทัศนคติและเหตุผลของประชาชน รูปแบบ
                  ของอาชญากรรมและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมในประเทศ (International Commission
                  against the Death Penalty, 2013)




                           ดังนั้น  ขอบเขตของอาชญากรรมร้ายแรงตามข้อเสนอขององค์การสหประชาชาติ  คือ
                  พฤติกรรมการกระทำาผิดที่มีเจตนาในการฆาตกรรมโดยมีผลทำาให้ผู้อื่นเสียชีวิต  สำาหรับขอบเขต






         80    คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98