Page 183 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 183
จุดยืนของทัศนคติต่อก�รยกเลิกโทษประห�รชีวิต
คัดค้�นก�รยกเลิกโทษประห�รชีวิต
ฝ่ายที่ ๑ เพราะต้องการลงโทษให้สาสมกับความผิดที่ได้ทำาไปและเพื่อความสงบสุข
ของสังคม อีกทั้งไม่ยอมให้ถูกกดดันจากต่างชาติในเรื่องสิทธิมนุษยชน
คัดค้�นก�รยกเลิกโทษประห�รชีวิต ยกเว้นแต่จะมีก�รดำ�เนินก�ร
ในเรื่อง
๑) ปรับประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย
ฝ่ายที่ ๒ ๒) ปรับสภาพสังคมให้มีความสงบเรียบร้อย ปราศจากอาชญากรรม
และแหล่งเสื่อมโทรมที่สร้างอาชญากร
๓) ปรับเปลี่ยนทัศนคติของประชาชนอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
๔) ปรับระบบเรือนจำาให้รองรับผู้ต้องโทษตลอดชีวิตที่เพิ่มขึ้น
๕) ปรับระบบการดูแลผู้เสียหายจากอาชญากรรม
ฝ่ายที่ ๓ ฝ่�ยเป็นกล�ง
เสนอให้ยกเลิกโทษประห�รชีวิต
ฝ่ายที่ ๔ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นหลักสากล
ที่ใช้ทั่วโลกและเห็นว่าโทษประหารชีวิตไม่มีผลในการยับยั้งการกระทำาผิด
สนับสนุนให้ยกเลิกโทษประห�รชีวิต โดยดำ�เนินก�รแบบค่อยเป็นค่อยไป
โดยมีขั้นตอน ดังนี้
๑) ประเทศไทยควรให้สัตยาบันรับรองพิธีสารเลือกรับฉบับที่ ๒ ของกติกา
ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ฝ่ายที่ ๕
๒) ให้แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ ซึ่งบังคับใช้ในปี ๒๕๕๗
มีการแสดงเจตจำานงในการยกเลิกโทษประหารชีวิต
๓) ให้แก้กฎหมายไม่ใช้โทษประหารในความผิดของโทษที่ไม่ใช่คดีอาญา
ร้ายแรง
๕) ประกาศพักการใช้การลงโทษประหารชีวิตชั่วคราวอย่างเป็นทางการ
170 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ