Page 82 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 82

2. ระบอบการปกครอง ฝรั่งเศสมีการปกครองในระบอบกษัตริย์โดยรวมอ านาจเข้าสู่

                  ศูนย์กลาง สามารถจับกุม คุมขังบุคคลใดได้ตามอ าเภอใจ ผู้ถูกจับไม่มีสิทธิที่จะร้องทุกข์ใดๆ ได้

                  เลย สภาฐานันดร (Estates –General) ประกอบด้วยสมาชิก 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มขุนนาง กลุ่มพระ

                  และกลุ่มสามัญชน ท าหน้าที่ให้ค าปรึกษากษัตริย์ ในทางปฏิบัติกลุ่มขุนนางและพระมักจะร่วมมือ
                  กันท าให้ได้เสียงข้างมากชนะกลุ่มสามัญชนเสมอ

                         3. สภาพเศรษฐกิจ เศรษฐกิจของฝรั่งเศสอยู่ในสภาวะที่ตกต ่าเนื่องจากมีการใช้จ่ายอย่าง

                    ่
                  ฟุมเฟือยของราชส านักมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ท าให้ต้องเรียกเก็บภาษีจากราษฏรอย่าง
                  หนักประกอบกับการจัดเก็บที่ไม่รัดกุมและไม่ยุติธรรม กล่าวคือ มีการยกเว้นภาษีให้กับอภิสิทธิ์

                  ชน ได้แก่ กลุ่มขุนนางและพระ

                         จากสาเหตุหลักทั้ง 3 ประการข้างต้นประกอบกับในขณะนั้นมีการตื่นตัวในเรื่องสิทธิ

                  ธรรมชาติ ตามแนวความคิดของนักปราชญ์ฝรั่งเศส ได้แก่ รุสโซ และมองเตสกิเออ ประชาชนได้

                  ร่วมกันเรียกร้องต่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ให้จัดท ารัฐธรรมนูญ ปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีให้เป็น

                  ธรรม และยกเลิกหมายจับของกษัตริย์โดยให้สามัญชนสามารถถวายค าร้องทุกข์ได้ เหตุการณ์เริ่ม
                  ตึงเครียดมากขึ้นจนในที่สุดฝูงชนได้เดินขบวนไปยังคุกบาสตีย์ (Bastille) และได้ท าลายคุก

                  ดังกล่าว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของอ านาจเผด็จการลงได้ในวันที่ 14 กรกฏาคม ค.ศ.  1789 และจับ

                  กษัตริย์ ราชินี และขุนนางประหารชีวิตเป็นจ านวนมาก

                         ต่อมาสมัชชาแห่งชาติของฝรั่งเศส (National  Assembly) ได้จัดท าปฏิญญาว่าด้วยสิทธิ

                  ของมนุษย์และพลเมือง (The Declaration of Rights of Man of Citizen) มีเนื้อหารวมทั้งสิ้น 17

                  มาตรา โดยมีสาระส าคัญดังนี้

                         ให้การรับรองสิทธิธรรมชาติของมนุษย์ ได้แก่ สิทธิที่จะมีเสรีภาพ สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิที่
                                                         ่
                  จะมีความปลอดภัยจากการใช้อ านาจของฝายปกครอง และสิทธิที่จะต่อต้านการกดขี่จากการที่
                    ่
                  ฝายปกครองใช้อ านาจเกินขอบเขตให้การจ ากัดความของเสรีภาพว่า คือ อ านาจที่จะกระท าสิ่ง
                  ใดๆ ได้โดยไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน ร าคาญ หรือเป็นอันตรายต่อผู้อื่น และได้กล่าวถึง

                  เสรีภาพประการอื่นๆ ไว้โดยสังเขป ได้แก่ เสรีภาพส่วนบุคคล เสรีภาพในความเชื่อถือศรัทธา

                  และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นให้การรับรองและยืนยันในความเสมอภาคตามกฎหมายของ

                  มนุษย์ ได้แก่ ความเสมอภาคในต าแหน่งหน้าที่การงานของรัฐ และความเสมอภาคในการเสียภาษี

                  อากร เป็นต้น ให้ค าจ ากัดความของกฎหมายว่า  เปรียบเสมือนเครื่องมือในการก าหนด

                  ความสัมพันธ์ระหว่างอ านาจปกครองกับเสรีภาพของประชาชน

                         เอกสารทางประวัติศาสตร์ดังที่ได้กล่าวถึง ได้แก่ ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของพลเมือง (The
                  Declaration of Rights) ของอังกฤษค าประกาศอิสรภาพ (The Declaration of Independence)



                                                          - 38 -
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87