Page 87 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 87
การมีเสรีภาพที่จะแสดงความเห็น สิทธิในศึกษา เสรีภาพในความคิด มโนธรรม และศาสนา สิทธิ
ในเสรีภาพจากการถูกทรมานและการกระท าที่ย ่ายีศักดิ์ศรี
วัตถุประสงค์การจัดท าปฏิญญาก็เพื่อก าหนดหลักการและมาตรฐานความเข้าใจร่วมกันใน
บทบัญญัติของกฎบัตรสหประชาชาติเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน เนื่องจากกฎบัตรสหประชาชาติมิได้
ให้ค าจ ากัดความของสิทธิมนุษยชนและสิทธิที่พึงได้รับการคุ้มครอง แต่ไม่มีผลผูกพันทาง
กฎหมาย ปฏิญญาสากลได้
พัฒนาความส าคัญมากขึ้นเป็นล าดับ ทั้งในด้านที่เป็นพื้นฐานของสนธิสัญญาด้านสิทธิ
มนุษยชนอื่นๆ ที่มีผลบังคับใช้ทางกฎหมายในเวลาต่อมา และประเทศต่างๆ ยังได้น าเอาสาระ
ของปฏิญญาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญในประเทศ
ั
ปจจุบัน สนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน มีรัฐต่างๆ เข้าเป็นภาคีแต่ละฉบับกว่า 100
ประเทศ จึงอาจกล่าวได้ว่า สิทธิมนุษยชนได้มีบทบาทอย่างส าคัญในกฎหมายระหว่างประเทศใน
ั
ปจจุบัน ซึ่งเป็นผลจากบทบัญญัติด้านสิทธิมนุษยชนในกฎบัตรสหประชาชาติ และก่อให้เกิดตรา
สารหรือกฎหมายด้านสิทธิมนุษยชนที่ส าคัญตามมา ท าให้แนวคิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่
ั
เป็นอุปสรรคต่อการคุ้มครองสิทธิของปจเจกบุคคลและกลุ่มชนได้เปลี่ยนแปลงไป จากการที่รัฐเป็น
ผู้ทรงสิทธิ และรัฐเป็นผู้ให้การยอมรับว่าจะจ ากัดอธิปไตยของรัฐเหนือเขตอ านาจรัฐและคนชาติ
ของตนได้เพียงใดนั้น กลายเป็นการที่รัฐมีความรับผิดชอบตามพันธกรณีทางกฎหมายระหว่าง
ประเทศ ที่จะต้องให้การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของคนทั้งชาติและบุคคลทั้งปวงที่อยู่ในเขตอ านาจ
รัฐ ตามที่ระบุไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติและสนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน
3.3 แนวคิดเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
อุดมศักดิ์ สินธิพงษ์ (2553 : 135-147 ,187-192) ได้กล่าวว่า สังคมไทยเป็นสังคม
ผสมผสานได้รับการซึมซับอารยธรรมมาจากทั้งจีนและอินเดีย รวมทั้งหลักธรรมของพุทธศาสนา
ไว้หลายประการ ดังนั้น แนวความคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนของไทยจึงได้รับอิทธิพลโดยตรงจากสิ่งที่
ได้กล่าวถึงนี้ โดยมีลักษณะเฉพาะของตนเองและมีความแตกต่างจากแนวความคิดของตะวันตก
ทั้งในแง่ของที่มาและวิวัฒนาการ หากสืบย้อนไปในอดีตจะพบว่าสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด ได้แก่ ศิลาจารึกในสมัยสุโขทัย ได้กล่าวถึงสิทธิ
ต่างๆ ของราษฎรไว้อย่างชัดเจน และได้มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงเป็นล าดับจนมาเป็นสิทธิ
ั
มนุษยชนในปจจุบัน
- 43 -