Page 84 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 84

ที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติให้การรับรองตามข้อมติที่ 217 A  (III)  เมื่อวันที่ 10

                  ธันวาคม ค.ศ.1948 (พ.ศ.2491) โดยประเทศไทยออกเสียงสนับสนุนด้วย  ซึ่งมีประเทศให้การ

                  รับรอง 48 ประเทศ ไม่มีประเทศใดออกเสียงคัดค้าน และมี 8 ประเทศงดออกเสียง ได้แก่

                  เบโลรุสเซีย ยูเครน เช็คโกสโลวะเกีย โปแลนด์ ซาอุดีอาระเบีย แอฟริกาใต้และสหภาพโซเวียต
                         แม้ว่าปฏิญญามีลักษณะที่เกี่ยวกับการให้การศึกษาและไม่ได้เป็นสนธิสัญญาที่ผูกมัด

                  หากแต่มีสาระส าคัญที่ชัดเจนและมีอิทธิพลอันใหญ่หลวงต่อความคิดเห็นทัศนคติ และการออก

                  กฎหมายในประเทศต่างๆ ในทุกภูมิภาคของโลก นับตั้งแต่สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (UN

                  General  Assembly)  ลงมติยอมรับเมื่อ พ.ศ. 2491 ในฐานะที่เป็นปฏิญญาอย่างเป็นทางการที่

                  ได้รับการยอมรับจากสหประชาชาติท าให้มีน ้าหนักที่ส าคัญในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในระบบ

                  ของสหประชาชาติ มีการลงมติยอมรับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ

                  เมือง (International  Covenant  on  Civil  and  Political  Rights)  ที่การประชุมสมัชชาใหญ่

                  สหประชาชาติเมื่อ พ.ศ. 2509 น าไปสู่การบังคับใช้ใน พ.ศ. 2519 และกติการะหว่างประเทศว่า

                  ด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International  Covenant  on  Economic,  Social
                  and Cultural Rights) เมื่อ พ.ศ. 2509 น าไปสู่การบังคับใช้ พ.ศ. 2519 มีเนื้อหาอีกหลากหลายที่

                  สหประชาชาติรับมาบรรจุไว้ในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งให้อ านาจในการสั่งการ

                  โดยรวมอ านาจนั้นไม่ได้เกิดจากการใช้ข้อบังคับของปฏิญญา ซึ่งก็มิได้ปรากฏอยู่ในเนื้อหาของ

                  ปฏิญญาแต่อย่างใด แต่เป็นข้อเท็จจริงที่บ่งบอกความกังวลโดยส่วนมากของบรรดาประเทศ

                  สมาชิกของสหประชาชาติที่ให้ค ามั่นสัญญาในการเตรียมการเกี่ยวกับการออกกฎหมายตาม

                  กระบวนการอันเหมาะสมในชาติของตนในด้านสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม ในระยะเวลา และความ

                  สงบ และผ่านกลไกแรงผลักดันอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการจากประเทศต่างๆ เนื้อหา
                  ของปฏิญญาตามแนวคิดของทฤษฎีโดมิโนนั้นมีผลกระทบกว้างขวางอย่างไม่ควรมองข้าม

                                                                    ้
                  นอกจากสิ่งซึ่งเป็นปฏิญญาจริงๆ แล้วความส าคัญอยู่ที่เปาหมายที่ต้องการให้บรรลุถึงในวิธีการที่
                  ไม่รุนแรงวัตถุประสงค์ คือ ผลลัพธ์ ไม่ใช่เนื้อหาของมัน



                         สนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชน

                         จากการรวบรวมสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน โดยอัจฉรา ฉายากุล (2546 :  6  -  9) ได้

                  อธิบายว่า ในการยกร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อยก

                  ร่างเอกสารออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก เป็นปฏิญญาเพื่อก าหนดหลักการหรือมาตรฐานทั่วไปด้าน

                  สิทธิมนุษยชน ส่วนที่สอง เป็นตราสารทาง กฎหมายที่สร้างพันธกรณีแก่รัฐที่เป็นภาคี ที่จะ
                  คุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามที่ระบุและจ ากัดสิทธิที่กระท าได้ ซึ่งเมื่อคณะกรรมการยกร่างได้เสนอ



                                                          - 40 -
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89