Page 51 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 51
มาตรวัด การออกแบบเครื่องมือวัดในการส ารวจภาคสนามครั้งนี้ก าหนดให้มีข้อค าถามทั้ง
ลักษณะปลายปิด (closed-end) และปลายเปิด (opened-end) โดยข้อค าถามในส่วนที่ 1 และ 2
ั
ซึ่งเป็นค าถามเกี่ยวข้องกับระดับปญหา อุปสรรคของกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน เป็นการสร้างค าถามปลายปิด โดยประยุกต์ใช้แบบมาตรประมาณค่า (rating scale)
ั
ั
ก าหนดให้มี 5 ระดับของปญหาคือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด / ไม่มีปญหาเลย
โดยมาตรวัดดังกล่าวก าหนดสัญลักษณะ หรือให้ความหมายระดับของมาตรดังนี้
ั
1 = น้อยที่สุด / ไม่มีปญหาเลย 2 = น้อย 3 = ปานกลาง
4 = มาก 5 = มากที่สุด
เกณฑ์ที่ใช้ในการแปลความหมาย การแปลความหมายจากมาตรประมาณค่าข้างต้น
คณะผู้วิจัยใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) โดยแปลจากค่าเฉลี่ยโดยการใช้ขอบเขตที่
แท้จริง (Exact Limits) ซึ่งหมายถึง ค่าที่อยู่ระหว่างขอบเขตทางต ่า (Lower Limit) กับขอบเขต
ทางสูง (Upper Limit) ของจ านวนที่ต่อเนื่อง หรือค่าที่อยู่ตั้งแต่มาตราวัดอันตรภาค (Interval
Scale) ขึ้นไป ดังตารางที่ 2.4
ตารางที่ 2.4 แสดงเกณฑ์ที่ใช้แปลความหมายค่าเฉลี่ย จากมาตรวัดแบบมาตรประมาณค่า
ค่าเฉลี่ย X ความหมาย
ั
ั
1.00 – 1.50 (1) หมายถึง (มีปญหาน้อยที่สุด / ไม่มีปญหาเลย)
ั
1.51 – 2.50 (2) หมายถึง (มีปญหาน้อย)
ั
2.51 – 3.50 (3) หมายถึง (มีปญหาปานกลาง)
ั
3.51 – 4.50 (4) หมายถึง (มีปญหามาก)
ั
4.51 – 5.00 (5) หมายถึง (มีปญหามากที่สุด)
ั
ขั้นตอนที่ 2 เป็นการศึกษาเพื่อแสวงหาแนวทางแก้ไขปญหา ข้อจ ากัด รวมถึงการพัฒนา
ั
ตัวแบบ (model) ของกระบวนการที่เหมาะสมในการลดทอนปญหา ข้อจ ากัดที่ค้นพบ ตลอดจน
เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยต่อไป
ั
การศึกษาวิจัยในขั้นตอนที่ 2 เป็นการน าเอาข้อสรุปของปญหา ข้อจ ากัดที่ค้นพบ ใน
ขั้นตอนที่ 1 ตั้งเป็น โจทย์หรือค าถามของการวิจัยในขั้นตอนที่ 2 เพื่อเข้าสู่กระบวนการหาค าตอบ
ถึงแนวทางแก้ไข โดยในขั้นตอนนี้คณะผู้วิจัยประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยรวม 3 ประเภท
ประกอบด้วย
- 8 -