Page 48 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 48
้
้
กลุ่มเปาหมาย การสัมภาษณ์เชิงลึกครั้งนี้ ก าหนดกลุ่มเปาหมาย คือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน
กระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน จ านวนทั้งสิ้น 59 ราย จ าแนกเป็น 6 กลุ่ม
รายละเอียดดังตารางที่ 2.1
ตารางที่ 2.1 แสดงจ านวนกลุ่มเป้ าหมายที่สัมภาษณ์เจาะลึก จ าแนกตามคุณลักษณะ
กลุ่มเป้ าหมาย คุณลักษณะ จ านวน
(ราย)
ผู้บริหารส านักงาน ผู้บริหารระดับสูงและกลางของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 3
แห่งชาติ หมายถึงระดับเลขาธิการลงไปจนถึงระดับผู้อ านวยการ
เจ้าหน้าที่ส านักงาน เจ้าหน้าที่ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผู้ปฏิบัติ 16
ั
หน้าที่เกี่ยวข้องกับงานตรวจสอบปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่มี
ประสบการณ์ท างานตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป กระจายตามลักษณะงาน
ที่รับผิดชอบ
คณะกรรมการสิทธิ ประธานและคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่ง 7
ั
มนุษยชนแห่งชาติ ในวาระปจจุบัน (รุ่นที่สอง)
ั
คณะอนุกรรมการสิทธิ คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้องกับงานตรวจสอบปญหาการละเมิด 10
มนุษยชนแห่งชาติ สิทธิมนุษยชน
ั
ั
ผู้ร้องเรียนปญหาถูก บุคคล ชุมชน ที่ร้องเรียนปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่เสร็จสิ้น 17
ละเมิดสิทธิมนุษยชน กระบวนการตรวจสอบแล้ว
ั
ผู้ถูกร้องเรียน บุคคล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน 6
ั
ฐานะถูกร้องเรียน หรือมีความเกี่ยวข้องกับปญหาที่ถูกร้องเรียน
รวมจ านวนทั้งสิ้น 59
ขอบเขตเนื้อหา การสัมภาษณ์เชิงลึกครั้งนี้ ก าหนดขอบเขตเนื้อหาเป็น 2 ระดับ คือ
1) ระดับโครงสร้างประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างการท างาน และอ านาจหน้าที่ และ
2) ระดับกระบวนการ คือการท างานในขั้นตอนต่างๆ ประกอบด้วย ขั้นตอนการรับเรื่อง การ
้
กลั่นกรอง การพิจารณา และการด าเนินการภายหลังจากมีการร้องเรียน ซึ่งแต่ละกลุ่มเปาหมายมี
รายละเอียดการสัมภาษณ์ที่แตกต่างกันดังตารางที่ 2.2 และ 2.3
- 5 -