Page 55 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 55
2.3 การสัมภาษณ์เชิงลึก
ั
การสัมภาษณ์เชิงลึกในขั้นตอนที่ 2 ก าหนดกรอบเนื้อหาที่เน้นแนวทางแก้ไขปญหา
ข้อจ ากัดในการ ด าเนินการในขั้นตอนตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ครอบคลุม
้
กลุ่มเปาหมาย คือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่างๆ ด าเนินการสัมภาษณ์ในช่วงระหว่าง 8 ถึง 20
กรกฎาคม 2556 ก าหนดขอบเขตเนื้อหาการสัมภาษณ์ ทั้งระดับโครงสร้างและระดับกระบวนการ
โดยมีรายละเอียดของระเบียบวิธีดังนี้
้
้
กลุ่มเปาหมาย การสัมภาษณ์เชิงลึกครั้งนี้ ก าหนดกลุ่มเปาหมาย คือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
กลุ่มต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วย
ผู้บริหารส านักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะอนุกรรมการ นักกฎหมายด้านสิทธิ
ั
มนุษยชน นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชน องค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องกับปญหาสิทธิ
มนุษยชน จ านวนทั้งสิ้น 20 ราย จ าแนกเป็น 6 กลุ่ม รายละเอียดดังตารางที่ 2.5
ตารางที่ 2.5. แสดงจ านวนกลุ่มเป้ าหมายที่สัมภาษณ์เจาะลึก จ าแนกตามคุณลักษณะ
จ านวน
กลุ่มเป้ าหมาย คุณลักษณะ
(ราย)
ผู้บริหารส านักงาน ผู้บริหารระดับสูงและกลางของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 3
แห่งชาติ หมายถึงระดับเลขาธิการลงไปจนถึงระดับผู้อ านวยการ
คณะกรรมการสิทธิ ประธานและคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งให้ด ารงต าแหน่งในวาระ 3
ั
ปจจุบัน (รุ่นที่สอง)
ั
คณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้องกับงานตรวจสอบปญหาการละเมิดสิทธิ 5
มนุษยชน
นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน ผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงผู้ที่มีความ 3
เชี่ยวชาญ ประสบการณ์ท างาน ต่อสู้ด้านสิทธิมนุษยชน
องค์กรอิสระ ผู้บริหารองค์กรอิสระ ที่มีพันธกิจเกี่ยวข้องกับงานด้านสิทธิมนุษยชน 2
หรือที่มีประสบการท างานร่วมกับส านักงานคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชน
นักกฎหมาย ผู้ที่ท างานด้านกฎหมาย หรือนักวิชาการด้านกฎหมายที่มีความรู้ 4
ประสบการณ์เกี่ยวกับกฎหมายมนุษยชน
รวมจ านวนทั้งสิ้น 20
- 12 -