Page 47 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 47
1.2 การวิจัยเอกสาร
การวิจัยเอกสารเพื่อการท าความเข้าใจถึงกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ั
ปญหา ข้อจ ากัดต่างๆ ของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ รวมถึงข้อมูลเชิงการ
เปรียบเทียบกับหน่วยงานที่ท างานด้านสิทธิมนุษยชนในต่างประเทศ และหน่วยงานที่ท าหน้าที่รับ
เรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์อื่นๆ ด าเนินการในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2555 ถึง กรกฎาคม
2556 ประกอบด้วยเนื้อหาดังนี้
ศึกษาและตรวจสอบระบบงานและกระบวนการการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่ผ่านมาจนถึง
ั
ปจจุบัน
่
ศึกษาระบบงานและการตรวจสอบเรื่องราวร้องทุกข์ของหน่วยงานฝายบริหาร
สังกัดรัฐบาล กรณีส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี ทั้งในเชิงโครงสร้างของ
คณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ การเสนอเรื่อง รับเรื่องร้องทุกข์และการ
พิจารณาเรื่องร้องทุกข์
ศึกษาระบบงานและการพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์ตามอ านาจหน้าที่ของ
ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ในอดีต)
ศึกษาระบบงานและการตรวจสอบเรื่องราวร้องทุกข์ของผู้ตรวจการแผ่นดิน
องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
ศึกษาและการพิจารณาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนของสถาบันสิทธิมนุษยชน หรือหน่วยงานอื่นในต่างประเทศ จ านวน ๔
ประเทศ ได้แก่ นิวซีแลนด์ อินเดีย อินโดนีเซีย สหภาพยุโรป และองค์การ
สหประชาชาติ
เอกสาร งานวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน
1.3 การสัมภาษณ์เชิงลึก
การประยุกต์ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกส าหรับการวิจัยในขั้นตอนนี้ ก าหนดกรอบเนื้อหาที่
ั
เน้นการค้นหาปญหา และข้อจ ากัดของการด าเนินการในขั้นตอนตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
้
มนุษยชน ครอบคลุมกลุ่มเปาหมาย คือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องรวมทั้งสิ้น 6 กลุ่ม ด าเนินการสัมภาษณ์
ในช่วงระหว่าง 26 มีนาคม ถึง 18 เมษายน 2556 ก าหนดขอบเขตเนื้อหาการสัมภาษณ์ ทั้งระดับ
โครงสร้างและระดับกระบวนการ โดยมีรายละเอียดของระเบียบวิธีดังนี้
- 4 -