Page 56 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 56

ั
                         ขอบเขตเนื้อหา การสัมภาษณ์เชิงลึกครั้งนี้ ก าหนดขอบเขตเนื้อหาตามปญหาที่ค้นพบ
                  จากการศึกษาวิจัยในขั้นตอนที่ 1 เป็น 2 ส่วน คือ 1) ความล่าช้าของกระบวนการตรวจสอบการ

                                                ั
                  ละเมิดสิทธิมนุษยชน และ 2) ปญหาความน่าเชื่อถือ การให้น ้าหนักความส าคัญกับผลการ
                                                                                      ้
                  ตรวจสอบ และข้อเสนอแนะเพื่อการเยียวยาผู้ถูกละเมิด จ าแนกตามกลุ่มเปาหมายที่สัมภาษณ์
                  โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มแรกสอบถามโดยเน้นแนวคิดเชิงนโยบาย และการบริหารจัดการ

                  ทั่วไป และกลุ่มที่สองเน้นแนวคิดด้านข้อกฎหมาย ดังรายละเอียด

                         กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย ผู้บริหารส านักงาน คณะกรรมการสิทธิ คณะอนุกรรมการ
                  นักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญองค์กรอิสระ เนื้อหาสัมภาษณ์ประกอบด้วย

                         1. ความล่าช้าของกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วย

                                 1.1 ศูนย์ปฏิบัติการ เครือข่ายการท างานในพื้นที่

                                 1.2 รูปแบบการใช้อ านาจ

                                 1.3 โครงสร้างของทีมงานตรวจสอบ

                                 1.4 การปรับขั้นตอน กระบวนการตรวจสอบ

                              ั
                         2. ปญหาความน่าเชื่อถือ การให้น ้าหนักความส าคัญกับผลการตรวจสอบ และ
                  ข้อเสนอแนะเพื่อการเยียวยาผู้ถูกละเมิด

                                 2.1 การปรับเปลี่ยน เพิ่มเติมด้านข้อกฎหมาย
                                 2.2 การสร้างการสนับสนุนจากพลังทางสังคม

                         กลุ่มที่ 2 ได้แก่นักกฎหมาย เนื้อหาสัมภาษณ์เหมือนกลุ่มที่ 1 คือความล่าช้าของ

                                                                     ั
                  กระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน และปญหาความน่าเชื่อถือ การให้น ้าหนัก
                  ความส าคัญกับผลการตรวจสอบ และข้อเสนอแนะเพื่อการเยียวยาผู้ถูกละเมิด โดยเน้นแนวคิด

                  ด้านข้อกฎหมายเป็นส าคัญ



                  จรรยาบรรณในการวิจัย

                         การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของจรรยาบรรณด้านวิจัยอย่างเคร่งครัด โดย

                  ค านึงถึงเงื่อนไขส าคัญ 3 ประการ
                         1. ความเป็นส่วนตัว (privacy) หมายถึงอิสระในการแสดงความคิดเห็น โดยคณะผู้วิจัยมี

                                                                                                ้
                  การด าเนินการโดยเน้นความเป็นส่วนตัว และอิสระในการตอบค าถาม เพื่อให้กลุ่มเปาหมาย
                                                                                    ั
                  สามารถให้ข้อมูล ความคิดเห็นได้อย่างเป็นอิสระ ปราศจากการรบกวนจากปจจัยแวดล้อมอื่นๆ









                                                          - 13 -
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61