Page 50 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 50
1.4 การส ารวจภาคสนาม
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยประยุกต์ใช้การส ารวจภาคสนาม ซึ่งเป็นระเบียบวิธีวิจัย
เชิงปริมาณ เป็นขั้นตอนต่อเนื่องจากระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อตรวจสอบ และระบุน ้าหนัก
ั
ความส าคัญของปญหา ข้อจ ากัดของกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่พบจาก
การวิจัยเชิงคุณภาพ อันเป็นขั้นตอนส าคัญที่จะน าไปสู่การก าหนดโครงสร้างและกรอบเนื้อหาใน
ั
การศึกษาวิจัยขั้นตอนที่ 2 คือ การศึกษาวิจัยเพื่อแสวงหาแนวทางแก้ไขปญหา ข้อจ ากัด รวมถึง
ั
การพัฒนาตัวแบบ (model) ของกระบวนการที่เหมาะสมในการลดทอนปญหา ข้อจ ากัดที่ค้นพบ
ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
ต่อไป
้
้
กลุ่มเปาหมาย กลุ่มเปาหมายในการส ารวจครั้งนี้คือ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติหน้าที่
เกี่ยวข้องกับกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ท าการส ารวจด้วยวิธีการส ามะโน
(census) รวมจ านวนทั้งสิ้น 52 ราย
เครื่องมือวัดและขอบเขตเนื้อหา การส ารวจภาคสนามครั้งนี้ ใช้แบบสอบถามเป็น
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ออกแบบส าหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลขอบเขตเนื้อหาของ
การส ารวจภาคสนามครั้งนี้ พัฒนาจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพทั้ง 3 ขั้นตอนที่
กล่าวถึงข้างต้น ก าหนดเนื้อหาเป็น 3 ส่วนประกอบด้วย
ั
ส่วนที่ 1 ข้อค าถามเกี่ยวกับปญหา ข้อจ ากัดระดับโครงสร้าง รวม 18 ข้อจ าแนกเป็น
1.1 ด้านโครงสร้าง 6 ข้อ
1.2 ด้านบุคลากร 7 ข้อ
1.3 ระบบการเบิกจ่าย 2 ข้อ
1.4 อ านาจหน้าที่ 3 ข้อ
ั
ส่วนที่ 2 ข้อค าถามเกี่ยวกับปญหา ข้อจ ากัดในระดับกระบวนการ รวม 22 ข้อ จ าแนกเป็น
2.1 กระบวนการรับเรื่องร้องเรียน 3 ข้อ
2.2 กระบวนการกลั่นกรอง 3 ข้อ
2.3 กระบวนการตรวจสอบ 8 ข้อ
2.4 การด าเนินการภายหลังตรวจสอบ 6 ข้อ
ั
2.5 ภาพรวมปญหา 2 ข้อ
ส่วนที่ 3 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 5 ข้อ
- 7 -