Page 52 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 52
1) การสัมมนาระดมความคิดเห็น (Seminar & Workshop)
2) การสนทนากลุ่ม (Focus Group)
3) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview)
2.1 การสัมมนาระดมความคิดเห็น
การสัมมนาระดมความคิดเห็น เป็นรูปแบบหนึ่งของการหาค าตอบจากการวิจัยในลักษณะ
้
ของการผสมผสานระหว่างการประชุมระดมความคิดเห็น กับการสนทนากลุ่มย่อย โดยมีเปาหมาย
ั
เพื่อระดมความคิดเห็นในลักษณะกลุ่ม ที่มีต่อหัวข้อปญหาที่ถูกจัดแบ่ง ผสมผสานกับการจัดระบบ
และแตกแขนงความคิดเห็นด้วยการสนทนากลุ่มย่อยภายใต้การควบคุมของทีมงานวิจัย ทั้งนี้โดย
คณะผู้วิจัยเป็นผู้ก าหนดกรอบเนื้อหาแต่ละหัวข้อ เพื่อให้เหมาะสมตามเงื่อนไขด้านเวลา และ
คุณลักษณะของผู้เข้าร่วม
ขั้นตอนการด าเนินการ
การสัมมนาระดมความคิดเห็น ในการวิจัยครั้งนี้แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังรายละเอียด
ั
ขั้นตอน 1 การน าเสนอถึงข้อสรุปของปญหา ข้อจ ากัด ที่ค้นพบจากการวิจัยในขั้นตอน
แรก จ าแนกตามหัวข้อส าคัญๆ ตามจ านวนกลุ่มที่เข้าร่วมการสัมนาระดมความคิดเห็น เพื่อสร้าง
ั
ความเข้าใจถึงกรอบของปญหา ที่จะถูกน าเข้าสู่ขั้นตอนของการระดมความคิดเห็นต่อไป
ั
ขั้นตอน 2 การแบ่งกลุ่มระดมความคิดเห็น ตามหัวข้อปญหาที่ผ่านการน าเสนอ และ
ั
จัดแบ่งไว้ในขั้นตอนที่ 1 เพื่อสรุปความคิดเห็นของกลุ่มต่อแนวทางแก้ไขปญหาดังกล่าว
ขั้นตอน 3 ด าเนินการสนทนากลุ่มย่อย โดยมีนักวิจัยเป็นผู้ควบคุมการสนทนากลุ่ม
(moderator) เพื่อท าความเข้าใจ จัดระบบ และแตกแขนงความคิดของสมาชิกในแต่ละกลุ่ม
ั
อันน าไปสู่ข้อสรุปในการแก้ไขปญหาที่ถูกต้องครบถ้วนตามหัวข้อที่ก าหนด
้
้
กลุ่มเปาหมาย กลุ่มเปาหมายที่เข้าร่วมการสัมมนาระดมความคิดเห็นในการวิจัยครั้งนี้
คือกลุ่มเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวข้องกับกระบวนการตรวจสอบการ
ั
ละเมิดปญหาสิทธิมนุษยชน รวมจ านวนทั้งสิ้น 16 ราย จ าแนกเป็น 3 กลุ่ม โดยมีรายละเอียดของ
ต าแหน่งงานและจ านวนผู้เข้าร่วมดังรายละเอียด
1) นิติกร จ านวน 10 ราย
2) นักจัดการงานทั่วไป จ านวน 5 ราย
3) ผู้ช่วยปฏิบัติงานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จ านวน 1 ราย
- 9 -