Page 46 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 46
บทที่ 2
ระเบียบวิธีวิจัย
ในการศึกษาวิจัยเรื่อง การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการ
ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาไทย
พุทธศักราช 2550 ประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานระหว่าง การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) และ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยก าหนด
กระบวนการเป็น 2 ขั้นตอน ประกอบด้วย
ขั้นตอนที่ 1
ั
การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกระบวนการท างาน และค้นหาปญหา ข้อจ ากัดในกระบวนการ
ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยขั้นตอนนี้ประยุกต์ใช้วิธีระเบียบวิธีการวิจัยรวม 4
ประเภทประกอบด้วย
5) การสังเกตการณ์ (Observation)
6) การวิจัยเอกสาร (Documentary Research)
7) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview)
8) การส ารวจภาคสนาม (Field Survey Research)
1.1 การสังเกตการณ์
คณะผู้วิจัยได้เข้าร่วมสังเกตการณ์ในทุกกระบวนการของการตรวจสอบ ประกอบด้วย
กระบวนการรับเรื่องร้องเรียน กระบวนการกลั่นกรอง กระบวนการตรวจสอบ (ทั้งการประชุม
ภายในส านักงาน ทั้งระดับอนุกรรมการฯ และการประชุมใหญ่ของกรรมการฯ ในการพิจารณาการ
ตรวจสอบเรื่องร้องเรียน และการลงพื้นที่) เพื่อสังเกตการณ์กระบวนการท างานในขั้นตอนการ
ท างาน รวมถึงการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องในขั้นตอนต่างๆ เพื่อท าความเข้าใจกระบวนการ
ั
ท างาน และค้นหาข้อสังเกตเกี่ยวกับปญหา ข้อจ ากัดในกระบวนการตรวจสอบ เป็นข้อมูลประกอบ
ในการก าหนดกรอบเนื้อหาของการสัมภาษณ์เชิงลึก และการส ารวจภาคสนาม โดยด าเนินการ
ในช่วงระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายน 2556
- 3 -