Page 294 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 294

ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522 บัญญัติให้นายกรัฐมนตรีเป็น

                  ประธานคณะกรรมการกฤษฎีกา อย่างไรก็ดี ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการกฤษฎีกา นั้น

                  ได้มีการแบ่งกรรมการกฤษฎีกาออกเป็นคณะตามกลุ่มกฎหมาย (จ านวน 12 คณะๆ ละ 9 คน) ที่

                  มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน ความเหมาะสมของการปฏิบัติหน้าที่ตามปริมาณงาน ความรู้
                                                                      ั
                  ความสามารถในแต่ละด้านของกรรมการกฤษฎีกา โดยในปจจุบันมีผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีประสบการณ์
                  สูงในการปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการกฤษฎีกาอย่างต่อเนื่อง มีผลการปฏิบัติหน้าที่ที่แสดงให้เห็น

                  ถึงการเสนอความคิดเห็นเป็นที่ยุติของงานร่างกฎหมายและงานให้ความเห็นทางกฎหมายอย่าง

                  เหมาะสม และด ารงต าแหน่งในระดับสูงของการบริหารราชการแผ่นดินหรือกระบวนการยุติธรรม

                  ซึ่งเป็นที่ยอมรับทั่วไปด ารงต าแหน่งประธานกรรมการกฤษฎีกาแต่ละคณะ ดังรายนามต่อไปนี้

                         คณะที่ 1 (กฎหมายการเมืองการปกครอง) มี นายมีชัย ฤชุพันธุ์ เป็นประธาน

                         คณะที่ 2 (กฎหมายการบริหารราชการแผ่นดิน) มี ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.วิษณุ เครือ

                  งาม เป็นประธาน

                         คณะที่ 3 (กฎหมายการเงิน) มี นายปลั่ง มีจุล เป็นประธาน
                         คณะที่ 4 (กฎหมายคมนาคม) มี ศาสตราจารย์ ดร. อมร จันทรสมบูรณ์ เป็นประธาน

                         คณะที่ 5 (กฎหมายการค้าและอุตสาหกรรม) มี นายวัฒนา รัตนวิจิตร เป็นประธาน

                                                                               ั
                         คณะที่ 6 (กฎหมายการค้าระหว่างประเทศและทรัพย์สินทางปญญา) มี ศาสตราจารย์ ดร.
                  อรุณ ภาณุพงศ์ เป็นประธานคณะกรรมการกฤษฎีกา

                         คณะที่ 7 (กฎหมายทรัพยากรธรรมชาติ) มี ศาสตราจารย์สรรเสริญ ไกรจิตติ เป็น

                  ประธาน

                         คณะที่ 8 (กฎหมายการศึกษา) มี ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. เกษม สุวรรณกุล เป็น
                  ประธาน

                         คณะที่ 9 (กฎหมายสวัสดิการสังคม) มี ศาสตราจารย์ ดร. ไพศิษฐ์ พิพัฒนกุล เป็น

                  ประธาน

                         คณะที่ 10 (กฎหมายสาธารณสุข) มี นายสวัสดิ์ โชติพานิช เป็นประธาน

                         คณะที่ 11 (กฎหมายกระบวนการยุติธรรม) มี ศาสตราจารย์โสภณ รัตนากร เป็นประธาน

                         คณะที่ 12 (กฎหมายการคลัง) มี ศาสตราจารย์ ดร. พนัส สิมะเสถียร เป็นประธาน


                         หมายเหตุ:ในพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522              เหตุผลในการ

                  ประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่กฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตราขึ้นไว้

                  ตั้งแต่ พ.ศ. 2476 บทบัญญัติต่างๆ จึงล้าสมัยไม่สะดวกแก่การปฏิบัติราชการ และรัฐบาลมี



                                                          - 245 -
   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298   299