Page 289 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 289

5.5 คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ในคณะกรรมการกฤษฎีกา



                         5.5.1 สถานการณ์ปัญหาสิทธิมนุษยชนที่ส าคัญของประเทศ/ภูมิภาค

                                                          ั
                         การบริหารงานของประเทศไทยในปจจุบันยังขาดการก าหนด “ระเบียบแบบแผนในการ
                  ปฏิบัติราชการ” ระเบียบต่างๆ ของทางราชการที่มีอยู่ในขณะนี้มักจะเป็นระเบียบเกี่ยวกับการเงิน

                  การคลัง แต่ขณะนี้แทบจะกล่าวได้ว่าทางราชการยังไม่มีระเบียบเกี่ยวกับเงื่อนไขในการใช้อ านาจ
                                                                     ่
                  ของเจ้าหน้าที่ต่างๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่ของฝายบริหารจึงมักจะก าหนดแต่เฉพาะใน
                                                                     ่
                                                                                        ั
                  หลักใหญ่ๆ เท่านั้น ดังนั้น การใช้อ านาจของเจ้าหน้าที่ฝายบริหารจึงประสบปญหาทั้งสองด้าน
                  พร้อมกัน คือ บางกรณีทางราชการก าหนดกฎเกณฑ์ไว้ตายตัวเกินไปโดยไม่ปล่อยดุลพินิจไว้

                  ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการ แต่ตรงกันข้าม ในบางกรณีทางราชการก็ปล่อยดุลพินิจไว้ให้แก่

                  เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติการมากเกินไป จนปรากฏว่าเจ้าหน้าที่สามารถใช้ดุลพินิจ โดยไม่ชอบโดย

                  ทุจริตได้

                                      ั
                         วิธีการแก้ไขปญหาทางการบริหารของประเทศไทยจึงควรจะหาวิธีสร้าง “ระเบียบแบบ
                  แผนในการปฏิบัติราชการ” ขึ้นโดยเร็ว โดยให้เป็นระเบียบแบบแผนที่เหมาะสมกับสภาพของงาน

                  ราชการในแต่ละประเภทและในทุกระดับเจ้าหน้าที่ จากนั้นค่อยๆ พัฒนาขึ้นเป็น “หลักกฎหมาย
                  ทั่วไปของกฎหมายปกครอง” หรือที่เรียกโดยย่อว่า “หลักกฎหมายปกครอง”



                        5.5.2 ที่มา/เหตุผลในการจัดตั้งองค์กร

                        ก่อนรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศไทยยังไม่มีองค์กรกลาง

                  ด้านการร่างกฎหมายโดยเฉพาะโดยปกติแล้วพระมหากษัตริย์จะทรงมีพระราชด ารัสให้อาลักษณ์

                  เป็นผู้ร่างกฎหมายขึ้นตามพระราชประสงค์ เมื่ออาลักษณ์ด าเนินการเสร็จก็จะน าขึ้นทูลเกล้าฯ

                  ถวายเพื่อทรงตรวจแก้ด้วยพระองค์เอง แล้วจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศใช้

                  บังคับเป็นเรื่องๆ ไป

                         ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
                  ให้ตรา "พระราชบัญญัติเคาน์ซิลออฟสเตดคือที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน" ขึ้น ในปีพ.ศ.2417 เพื่อ

                  เป็นองค์กรถวายค าปรึกษาแก่พระองค์ในการบริหารราชการแผ่นดิน การร่างกฎหมายและการ

                  พิจารณาเรื่องที่ราษฎรได้รับความเดือดร้อนซึ่งอ านาจหน้าที่ขององค์กรดังกล่าวคล้ายคลึงกับ

                  Conseild'Etat  หรือ Council of State ของกลุ่มประเทศภาคพื้นทวีปยุโรป

                         ใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยจ าเป็นต้องปฏิรูประบบ

                  กฎหมายและการศาลให้เป็นสากล เพื่อใช้เป็นเหตุผลในการแก้ไขสนธิสัญญาสิทธิสภาพนอก


                                                          - 240 -
   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294