Page 297 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 297

ั
                                 3.  วิจัยและพัฒนากฎหมายโดยตรวจสอบสภาพปญหาของประเทศและสังคม
                  แล้วท าการศึกษาวิจัยเพื่อเสนอร่างกฎหมายใหม่หรือแก้ไขกฎหมายเดิม

                                 4.  การพัฒนาหลักกฎหมายปกครองเพื่อก าหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติราชการ

                  และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปฏิบัติราชการรวมทั้งรับผิดชอบกฎหมายว่า
                  ด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองและกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

                                 5.  ท าหน้าที่เป็นศูนย์กลางข้อมูลกฎหมายโดยการรวบรวมกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

                  กับการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อให้บริการค้นคว้าแก่รัฐบาลรัฐสภาหน่วยงานของรัฐและ

                  ประชาชน

                                 6.  ด าเนินการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐเพื่อให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้าน

                  กฎหมายมหาชน

                                 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก าหนดให้เป็นอ านาจหน้าที่ของส านักงาน

                  คณะกรรมการกฤษฎีกาหรือตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

                         จากรายงานประจ าปีของส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2554 : 7-8) ระบุว่านอกจาก
                  หน้าที่ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกาแล้วส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกายังได้รับ

                  มอบหมายให้มีหน้าที่รับผิดชอบงานวิชาการและงานธุรการของคณะกรรมการกฤษฎีกา

                  คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง คณะกรรมการ

                  ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนบริษัทและองค์กรทางธุรกิจคณะกรรมการปรับปรุงประมวล

                  กฎหมายอาญาคณะกรรมการปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและคณะกรรมการ

                  ปรับปรุงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่ทางด้านกฎหมายอื่นๆ

                  ตามนโยบายของรัฐบาล
                         ส าหรับส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นอกจากจะปฏิบัติหน้าที่ด้านธุรการให้แก่

                  คณะกรรมการกฤษฎีกาและคณะกรรมการพัฒนากฎหมายแล้ว ยังมีการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะเป็น

                  “หน่วยบริหารงาน” อยู่หลายประการ เช่น

                                 1. งานประเมินผล ซึ่งได้แก่ การติดต่อวิเคราะห์ค าวินิจฉัยของ “กรรมการ” และ

                  การติดตามวิเคราะห์ความเห็นของ “พนักงานผู้รับผิดชอบส านวน”

                                 2. งานด้านการร่างกฎหมายและการให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานของ

                  รัฐ ทั้งนี้เฉพาะที่เป็นเรื่องเร่งด่วนไม่อาจรอการพิจารณาโดยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ หรือเป็น
                             ั
                  เรื่องที่ไม่มีปญหาสลับซับซ้อนยุ่งยาก

                                 3. งานวิชาการ ซึ่งได้แก่งานรวบรวมข้อมูลกฎหมาย งานศึกษาค้นคว้า งาน
                  กฎหมายเปรียบเทียบ และงานวิจัย



                                                          - 248 -
   292   293   294   295   296   297   298   299   300   301   302