Page 296 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 296
คณะกรรมการกฤษฎีกาและคณะกรรมการพัฒนากฎหมายนอกจากนี้ยังมีอ านาจหน้าที่อื่นอีก
ดังต่อไปนี้
1. พิจารณาและจัดท าร่างกฎหมายตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรี
มอบหมายและเสนอความเห็นเกี่ยวกับการให้มีหรือแก้ไขปรับปรุงหรือยกเลิกกฎหมาย
2. ช่วยเหลือและให้ค าแนะน าเกี่ยวกับการร่างกฎหมายแก่หน่วยงานของรัฐ
3. ให้ความเห็นหรือปฏิบัติงานอื่นอันเกี่ยวกับกฎหมายให้แก่หน่วยงานของรัฐ
หรือตามที่รัฐบาลต่างประเทศหรือสถาบันระหว่างประเทศร้องขอ
4. ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและ
เจ้าหน้าที่ของรัฐในด้านกฎหมายและการร่างกฎหมายรวมทั้งการเผยแพร่ท าความเข้าใจในด้าน
กฎหมายแก่บุคคลทั่วไป
5. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาหลักกฎหมายและการบริหาร
ราชการแผ่นดิน
6. จัดพิมพ์ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกาเพื่อเผยแพร่เว้นแต่เรื่องที่เป็น
ความลับ
7. จัดท ารายงานประจ าปีเกี่ยวกับผลงานและอุปสรรคในการด าเนินงานของ
คณะกรรมการกฤษฎีกาและคณะกรรมการพัฒนากฎหมายเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
8. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลรวมทั้งจัดให้ได้มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับระบบกฎหมาย
ไทยและระบบกฎหมายต่างประเทศและงานวิจัยกฎหมายหรือวิชาอื่นที่เกี่ยวกับกฎหมายทั้งของ
ไทยและต่างประเทศเพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติงานของคณะกรรมการกฤษฎีกาและ
คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย
นอกจากนั้นกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ส านักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2545 ยังก าหนดให้ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีอ านาจหน้าที่
เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ รายงานประจ าปี 2554 ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2554 : 7-8)
1. งานประสานการนิติบัญญัติโดยการตรวจสอบดูแลงานกฎหมายของประเทศ
ั
และแก้ไขปญหาข้อขัดข้องในการเสนอกฎหมายรวมทั้งการช่วยเหลืองานด้านกฎหมายในชั้น
รัฐสภา
2. จัดท าค าแปลกฎหมายให้ความเห็นทางกฎหมายเกี่ยวกับการกู้เงินและให้
ค าปรึกษาหรือปฏิบัติงานอื่นอันเกี่ยวกับกฎหมายให้แก่หน่วยงานของรัฐหรือตามที่รัฐบาล
ต่างประเทศหรือสถาบันระหว่างประเทศร้องขอ
- 247 -