Page 290 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 290
อาณาเขตที่ประเทศไทยท าไว้กับต่างประเทศ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งคณะกรรมการ
ร่างประมวลกฎหมายต่างๆ ขึ้นหลายคณะเพื่อร่างกฎหมายอย่างสากล และต่อมาทรงมีพระบรม
ราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง "กรมร่างกฎหมาย"สังกัดกระทรวงยุติธรรม ขึ้นในปี พ.ศ. 2466
เพื่อให้การช าระประมวลกฎหมายและร่างกฎหมายอื่นๆเป็นระบบมากยิ่งขึ้น เมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2475
กรมร่างกฎหมายได้ไปขึ้นตรงต่อ "คณะกรรมการราษฎร์" เพื่อความสะดวกในการ
ด าเนินการออกกฎหมาย และในปีต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการ
กฤษฎีกา พุทธศักราช 2476 เพื่อจัดตั้ง "คณะกรรมการกฤษฎีกา" ขึ้นตามแนวทางของสถาบันที่
ปรึกษาราชการแผ่นดินในสมัยรัชกาลที่ 5 และ Conseild'Etat ของประเทศภาคพื้นทวีปยุโรป โดย
องค์กรดังกล่าวจะท าหน้าที่ร่างกฎหมายและให้ความเห็นทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงาน
ของรัฐแทนกรมร่างกฎหมาย รวมทั้งมีอ านาจพิจารณาเรื่องที่ราษฎรได้รับความเสียหายจากการ
กระท าตามหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือคดีปกครองด้วย เพื่อให้คณะกรรมการกฤษฎีกา ปฏิบัติ
หน้าที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ กฎหมายดังกล่าวได้จัดตั้ง "ส านักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา" ขึ้นเพื่อท าหน้าที่เป็นหน่วยธุรการของคณะกรรมการกฤษฎีกาในปี พ.ศ. 2522 ได้มี
การตราพระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. 2522 ขึ้นเพื่อปรับปรุงการจัดองค์กร
อ านาจหน้าที่และกลไกในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการกฤษฎีกาและส านักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกาให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น
อนึ่ง อ านาจของคณะกรรมการกฤษฎีกาในการพิจารณาเรื่องที่ราษฎรได้รับความ
เสียหายจากการกระท าตามหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือคดีปกครองได้รับการพัฒนาตลอดมา
จนในที่สุดได้โอนไปเป็นอ านาจของศาลปกครองเมื่อมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นในปี พ.ศ.2542
5.5.3 องค์ประกอบและที่มาของคณะกรรมการ
ตามเอกสารของ ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2556 : 4-9) เขียนไว้ว่า จากการที่
ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ท าหน้าที่เป็นหน่วยธุรการและหน่วยบริหารงานของ
ั
คณะกรรมการกฤษฎีกามาเป็นเวลานาน จึงได้มีโอกาสรับทราบปญหาข้อขัดข้องทางบริหารของ
่
ฝายปกครองในรูปของการขอค าปรึกษากฎหมายและในรูปการเสนอแก้ไขปรับปรุงกฎหมายมา
ั
โดยตลอด และส านักงานฯ ได้ท าการศึกษาวิเคราะห์ประสบการณ์และแนวทางในการแก้ไขปญหา
ั
ของประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศได้ข้อยุติว่า การบริหารของประเทศในปจจุบันยังขาดการ
ก าหนดระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติราชการส าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ และโดยที่คณะกรรมการ
กฤษฎีกาได้จัดตั้งขึ้นโดยให้มีรูปแบบ เช่นเดียวกับสภาแห่งรัฐของประเทศฝรั่งเศส ประเทศไทยจึง
- 241 -