Page 181 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 181
ั
ข้อเท็จจริง รับฟงค าชี้แจงและพยานหลักฐาน และจัดท ารายงานเสนอต่อคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ โดยคณะอนุกรรมการจะมีอ านาจหน้าที่เช่นเดียวกับคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ เว้นแต่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะก าหนดเป็นอย่างอื่น
การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมการนั้นในระหว่างการพิจารณา
คณะกรรมการอาจด าเนินการไกล่เกลี่ยบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้คู่กรณีท า
ั
ความตกลงเพื่อประนีประนอมและแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนซึ่งหากคู่กรณียินยอมตก
ลงกันได้ให้คณะกรรมการจัดให้มีการจัดท าข้อตกลงระหว่างคู่กรณีเป็นหนังสือไว้และให้ยุติเรื่อง
1) เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน ให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจัดท ารายงาน
ั
ผลการตรวจสอบและมาตรการแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยระบุว่ารายละเอียด
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับพฤติการณ์แห่งการละเมิดสิทธิมนุษยชน เหตุผลที่มีความเห็นดังกล่าว
ั
มาตรการแก้ไขปญหาฯ ต้องก าหนดให้ชัดเจนว่าบุคคลหรือหน่วยงานใดมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตาม
กฎหมายในเรื่องใด ด้วยวิธีการอย่างไร รวมทั้งระยะเวลาในการด าเนินการตามมาตรการดังกล่าว
และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะก าหนดให้บุคคลหรือหน่วยงานด าเนินการตามอ านาจ
้
หน้าที่ด้วยวิธีการที่เหมาะสมเพื่อปองกันมิให้มีการสิทธิมนุษยชนในลักษณะท านองเดียวกัน
อีกก็ได้
2) ไม่เป็นการละเมิดการสิทธิมนุษยชน กรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเห็น
ว่าการกระท าหรือละเว้นการกระท าดังกล่าวไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน แต่มีการปฏิบัติที่
ไม่เป็นธรรมสมควรแก่การแก้ไขเยียวยาความเสียหาย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
จะก าหนดแนวทางแก้ไขเพื่อแจ้งให้บุคคลหรือหน่วยงานด าเนินการตามความเหมาะสม ภายใต้
อ านาจหน้าที่บุคคลหรือหน่วยงานนั้นได้
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจเริ่มกระบวนการตรวจสอบการละเมิด
สิทธิมนุษยชนได้โดยไม่จ าเป็นต้องมีการร้องเรียน ในกรณีที่เห็นสมควรให้มีการตรวจสอบตาม
มาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งไม่ได้บัญญัติ
ถึงหลักเกณฑ์ในการเลือกประเด็นที่คณะกรรมการจะด าเนินการตรวจสอบไว้แต่ระเบียบ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่า ด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิด
สิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2545 ข้อ 13 ได้ก าหนดกรณีต่างๆ ซึ่งหากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติเห็นสมควร อาจให้มีการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ได้แก่
1. ผู้ร้องมิใช่ผู้ซึ่งถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ท าการแทน
2. ผู้ร้องเป็นผู้ท าการแทนองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนที่มิได้เป็นนิติบุคคลตาม
กฎหมาย
- 136 -