Page 178 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 178
5.1.7 วิธีการยื่นเรื่องร้องเรียน
ตามข้อมูลของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (2547 : 30) ระบุว่า
ผู้มีสิทธิร้องเรียน
ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ร้องเรียนเองหรือมอบหมายให้ผู้อื่นหรือองค์การ
เอกชนด้านสิทธิมนุษยชนร้องเรียนแทน
-องค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน
-กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติตรวจสอบเองโดยไม่จ าเป็นต้องมีใคร
มาร้องเรียน
รายละเอียดในค าร้องเรียน
-ชื่อ ที่อยู่ของผู้ร้องเรียน หรือผู้ร้องเรียนแทน
-ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
-ลายมือชื่อผู้ร้องหรือผู้ร้องเรียนแทน
-หนังสือมอบหมาย ในกรณีที่ให้ผู้อื่นร้องเรียนแทน
การยื่นเรื่องร้องเรียน
-ยื่นค าร้องด้วยตัวเองเป็นเอกสารหรือด้วยวาจา
-มอบหมายให้ผู้อื่น หรือองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนเป็นผู้ยื่น
-ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
-วิธีอื่นตามที่กรรมการก าหนด
5.1.8 การพิจารณารับค าร้อง
แม้ว่าพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และระเบียบ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสอบการละเมิด
สิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2545 ไม่ได้ก าหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับค าร้องที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติจะรับไว้พิจารณาตรวจสอบไว้โดยตรง แต่เมื่อพิจารณาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและ
พระราชบัญญัติ ฉบับดังกล่าวที่ก าหนดอ านาจหน้าที่ และอ านาจในการปฏิบัติหน้าที่ของ
้
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จะท าให้ทราบถึงเปาหมายและสาระของค าร้องที่
คณะกรรมการจะรับไว้พิจารณาตรวจสอบ กล่าวคือ
้
เปาหมายของค าร้องที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะรับไว้พิจารณาจึงได้แก่
บุคคลหรือหน่วยงานที่กระท าหรือละเลยการกระท าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรืออันไม่
เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี ส่วนการ
- 133 -