Page 183 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 183

2. มีหนังสือเรียกบุคคล นิติบุคคล หรือหน่วยงานเอกชนที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยค าหรือให้

                  ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องมาตามวัน เวลา และสถานที่ที่ก าหนด

                         3. ร้องขอให้ศาลออกหมายส าหรับเข้าตรวจค้นเคหสถานหรือสถานที่ใดๆ เพื่อประโยชน์

                  ในการตรวจสอบข้อเท็จจริงและการรวบตามพยานหลักฐานต่างๆ
                         4. ขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญมาให้ความเห็นเพื่อประกอบการตรวจสอบ

                                                                                         ั
                         5. การด าเนินการต่อผู้ขัดขวางหรือไม่ให้ความร่วมมือในกระบวนการรับฟงข้อเท็จจริงและ
                  แสวงหาพยานหลักฐาน

                                                                                            ั
                         ในระหว่างที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติด าเนินกระบวนการรับฟงข้อเท็จจริง
                  และแสวงหาพยานหลักฐานหากบุคคล นิติบุคคล หรือหน่วยงานเอกชนที่เกี่ยวข้องไม่มาให้

                  ถ้อยค า หรือไม่ส่งวัตถุ เอกสารหรือพยานหลักฐานที่ถูกเรียกหรือถูกสั่งให้ส่งตามมาตรา 32 (2)

                  แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 34 ก าหนดให้ต้อง

                  ระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ แต่ไม่มีบท

                  ก าหนดโทษในกรณีที่ส่วนราชการหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ไม่มาให้ถ้อยค า หรือไม่ส่ง
                  วัตถุ เอกสารหรือพยานหลักฐานที่ถูกเรียกหรือถูกสั่งให้ส่งตามมาตรา 32 (1) ส่วนกรณีที่ผู้ใดต่อสู้

                  หรือขัดขวางการเข้าตรวจค้นเคหสถาน หรือสถานที่ดังกล่าว มาตรา 35 บัญญัติให้ต้องระวางโทษ

                  จ าคุกไม่เกิน 1 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 2 หมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ



                         5.1.10 การตรวจสอบ และไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

                         ในงานของ ภัทรวดี แกว่นเจริญ (2554 : 38-45)  ได้กล่าวถึง การไกล่เกลี่ยในระหว่างการ

                  พิจารณาตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นวิธีการระงับข้อพิพาท ในกรณีที่มีการร้องเรียนว่า

                  ผู้ถูกร้องมีการกระท าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนซึ่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

                  พ.ศ. 2542 และระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการ
                  ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2542 ข้อ 22 แต่โดยที่ระเบียบดังกล่าวไม่ได้ก าหนด

                  หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเพิ่มเติมจากที่บัญญัติไว้ตามมาตรา 27 แต่เป็นการน าความในมาตรา

                  27 มาก าหนดซ ้า ดังนั้นแนวทางกลไกในการด าเนินการ และผลของการไกล่เกลี่ย จึงอาจสรุปได้

                  ตามมาตรา 27 และแนวปฏิบัติที่ผ่านมาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ดังนี้










                                                          - 138 -
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188