Page 184 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 184

แนวทางด าเนินการไกล่เกลี่ย

                         กระบวนการไกล่เกลี่ยจะเริ่มได้เมื่อได้มีการรวบรวมข้อเท็จจริงจนสามารถทราบถึง

                                ั
                  เหตุการณ์และปญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นว่าเป็นกรณีที่อาจด าเนินไกล่เกลี่ยได้ จากนั้น จะมีการ
                  เชิญผู้ร้องและผู้ถูกร้องเข้าสู่กระบวนการเจรจา ซึ่งอาจจะเป็นการเปิดโอกาสให้คู่กรณีได้เจรจากัน

                  โดยตรง หรือแยกไกล่เกลี่ยแล้วแต่กรณี โดยอาจต้องมีการประชุมหลายครั้ง จนกว่าจะหาวิธีการ
                         ั
                                                          ่
                  แก้ไขปญหาที่เป็นที่พอใจของคู่กรณีทั้งสองฝายได้ หากคู่กรณีตกลงกันได้ จะมีการจัดท าบันทึก
                  ข้อตกลงที่คู่กรณีได้ตกลงกันไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งอาจจัดท าโดยผู้รับผิดชอบค าร้องหรือผู้ที่

                  คู่กรณีเห็นสมควรให้เป็นผู้จัดท าบันทึกข้อตกลง หรือผู้ที่คณะกรรมการมอบหมายแล้วสรุป

                  ข้อตกลงให้คู่กรณีได้รับทราบว่า จะสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงได้ จึงให้คู่กรณีลงนามในบันทึก

                  ข้อตกลง



                         การจัดกลไกในการไกล่เกลี่ย

                                                                         ั
                         กลไกส าคัญในการไกล่เกลี่ยประนีประนอมเพื่อแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน คือ
                  ผู้ท าหน้าที่คนกลางในการด าเนินการไกล่เกลี่ย ซึ่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อาจ

                  มอบหมายให้คณะอนุกรรมการที่มีความรู้และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยท าการแทนก็ได้โดย
                  ผู้ด าเนินการไกล่เกลี่ย จะจัดให้คู่กรณีได้พบและประชุมเจรจารวมกัน หรือแยกกันเจรจา ณ ห้อง

                  ประชุมของส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือสถานที่ที่เป็นการสะดวกส าหรับ

                  คู่กรณี

                         ในการปฏิบัติของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มักจะเป็นการไกล่เกลี่ยในระดับ

                  อนุกรรมการคณะต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบค าร้องนั้นๆ โดยไม่ได้มีการแต่งตั้ง

                  คณะอนุกรรมการเพื่อท าหน้าที่ไกล่เกลี่ยโดยตรงขึ้นมาใหม่


                         ผลของการไกล่เกลี่ย

                                                                 ั
                         ในการไกล่เกลี่ยประนีประนอมเพื่อแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนดังกล่าวนั้น
                  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจะท าหน้าที่ในฐานะคนกลางในการเจรจาแก้ไขข้อพิพาท

                  โดยอาศัยความสมัครใจของคู่กรณี แล้วท าข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรและให้ยุติเรื่องโดยที่

                  คณะกรรมการไม่มีอ านาจที่จะด าเนินให้มีสภาพบังคับใดๆ หากไม่สามารถไกล่เกลี่ย

                  ประนีประนอมได้ก็ต้องด าเนินการพิจารณาตรวจสอบต่อไปจนเสร็จสิ้น








                                                          - 139 -
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189