Page 43 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 43

่
                       ของชาวบ้านกับพื้นที่อนุรักษ์จากการประเมินของ ICEM (2003)  พบว่า มีชาวบ้านติดอยู่ในเขตปาของรัฐ
                                          ่
                       โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ปาอนุรักษ์ไม่น้อยกว่า 500,000 คน
                                         ั
                                                                      ่
                              กล่าวได้ว่า ปญหาความขัดแย้งระหว่างคนกับปาในสังคมไทยเกิดขึ้นมาเป็นเวลานานหรือ
                                 ่
                                                       ่
                       ตั้งแต่กรมปาไม้อ้างสิทธิเหนือพื้นที่ปาไม้แต่แนวคิดการจัดการทรัพยากรแบบรวมศูนย์ของรัฐ
                                                                                   ่
                                     ั
                       ไม่สามารถแก้ปญหาได้หลักฐานที่ชัดเจน ได้แก่ การลดลงของพื้นที่ปาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้
                                          ่
                                 ่
                       การจัดการปาที่มีกรมปาไม้เป็น “พระเอก”  เพียงผู้เดียวยังก่อให้เกิดความขัดแย้งและการแย่งชิง
                       ทรัพยากรระหว่างกลุ่ม ต่าง ๆ ในสังคม การเรียกร้องให้มีการปรับเปลี่ยนระบบการบริหารจัดการ
                                ่
                       ทรัพยากรปาไม้ที่เน้นและเปิดโอกาสให้ภาคี ต่าง ๆ โดยเฉพาะชาวบ้านหรือชุมชนท้องถิ่นได้เข้าร่วม
                       ในการตัดสินใจสําหรับการจัดสรรทรัพยากรอย่างเท่าเทียมจึงเริ่มขึ้น
                              งานการศึกษาเรื่อง ความขัดแย้งในการบริหารจัดการที่ดิน โดยโสภณ   ชมชาญ  ชี้ให้เห็นว่า
                       ความขัดแย้งในเรื่องที่ดินนั้นเกิดขึ้นทั้งระหว่างหน่วยงานของรัฐ  รัฐกับเอกชน  และเอกชนกับเอกชน
                       ที่รุนแรงและยืดเยื้อจะเกิดขึ้นระหว่างรัฐกับเอกชนในที่ดินของรัฐ  ทั้งที่ดินที่ประกาศเป็นเขตสงวนและ
                                                                   ่
                                                  ่
                       คุ้มครอง เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา อุทยานแห่งชาติ ปาสงวนแห่งชาติ ที่สาธารณะที่พลเมืองใช้ประโยชน์
                       ร่วมกัน ที่ราชพัสดุ ที่ใช้ในราชการทหาร มีสาเหตุและที่มาของความขัดแย้ง 4 ประการ คือ นโยบาย
                       ของรัฐไม่มีเอกภาพ ขาดเครือข่ายระบบข้อมูลที่ดินที่ดี มาตรการควบคุมการใช้ที่ดินไม่มีประสิทธิภาพ

                       และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มไม่มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการที่ดิน  ได้มีความพยายามแก้ไขความขัดแย้ง
                               ่
                                                        ่
                       จากหลายฝายในช่วงเวลาที่ผ่านมา  ทั้งจากฝายการเมือง คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ไม่ประสบความสําเร็จ
                                                              ั
                       มากนักเพราะขาดความต่อเนื่องในการแก้ไขปญหาเนื่องจากมีการยุบสภาและเปลี่ยนแปลงรัฐบาล
                                                                                             ่
                       บ่อยครั้ง แนวคิดของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเองก็มี 2 แนวทาง คือ การเพิกถอนปาสงวนแห่งชาติ
                       แล้วออกเอกสารสิทธิ์ให้ราษฎรตามประมวลกฎหมายที่ดิน  และเมื่อเพิกถอนแล้วให้นําไปปฏิรูปที่ดิน
                                                                                 ้
                       ซึ่งหาข้อยุติได้ยาก  ในส่วนของภาครัฐนั้นได้มีความพยายามที่จะปองกันและแก้ไขความขัดแย้ง
                       มาตลอดเวลาอันยาวนาน  ในกรณีของการบุกรุกเข้าทํากินในพื้นที่ที่รัฐสงวน คุ้มครอง  และอนุรักษ์ไว้
                       รัฐได้มีนโยบายลดความขัดแย้ง  โดยการประนีประนอมให้อยู่อาศัยต่อไปได้  หรือผ่อนผันให้ทํากิน
                                                                             ่
                       ต่อไปตลอดจนมีการจําแนกออกให้เป็นที่ดินทํากินในกรณีของปาไม้ถาวร    หรือยกเลิกเพิกถอน
                        ่
                       ปาสงวนแห่งชาติเป็นที่ดินทํากิน  โดยการประกาศเป็นเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม  นอกจากนี้
                       รัฐยังได้มีนโยบายให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการที่ดิน  เช่น  ในการจัดรูปที่ดินเพื่อ
                       เกษตรกรรม การวางผังเมือง การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ การกระจายอํานาจสู่ท้องถิ่น การบริหาร
                                                ั
                       กิจการบ้านเมืองที่ดี  การรับฟงความคิดเห็นของประชาชน  จากการศึกษาและสํารวจกรณีพิพาทและ
                                                                                      ั
                                  ั
                       ความขัดแย้งปญหาที่ดินในภาค ต่าง ๆ ของประเทศ รวม 740 กรณี สามารถแก้ไขปญหาได้มีจํานวน 89 กรณี
                                        ั
                       หรือร้อยละ 12 ของปญหาทั้งหมดเท่านั้น ถึงแม้จะได้มีแผนบริหารราชการแผ่นดินในปี พ.ศ. 2548 - 2551
                       ในเรื่องการเร่งรัดกระจายสิทธิ์ที่ดินและการจัดที่ดินทํากินพร้อมสาธารณูปโภคให้แก่คนยากจน รวมทั้ง
                       การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี  โดยมีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนทุกระดับ
                       มีความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ อย่างไรก็ตามการดําเนินงานตามแนวคิด

                       และนโยบาย ต่าง ๆ ที่ผ่านมา ความขัดแย้งและข้อพิพาทยังคงมีอยู่และดูเหมือนว่าจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น


                                                                                                      3‐14
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48