Page 41 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 41

่
                              โดยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2439  เป็นต้นมา รัฐบาลสยามได้สถาปนากรมปาไม้ขึ้นเพื่อทําหน้าที่ควบคุม
                                                                                                ่
                       การทําไม้โดยเฉพาะการสัมปทานไม้สักในเขตภาคเหนือของประเทศไทยการสถาปนากรมปาไม้ครั้งนั้น
                                                                            ่
                       นับได้ว่าเป็นการประกาศรวมศูนย์อํานาจในการจัดการทรัพยากรปาไม้ของประเทศไทยซึ่งก่อนหน้านั้น
                            ่
                       พื้นที่ปาไม้ในเขตภาคเหนืออยู่ภายใต้การควบคุมของเจ้าผู้ครองนครซึ่งมีระบบการจัดการที่แตกต่าง
                                                                            ่
                       กันไปในช่วงเริ่มต้นของการวางระบบรวมศูนย์อํานาจการจัดการปา รัฐบาลสยามได้ว่าจ้างนายโฮร์เบิร์ต
                                               ่
                       เสลด (Horbert  Slade)  นักปาไม้ชาวอังกฤษให้มาทําหน้าที่ให้คําปรึกษาและวางกฎเกณฑ์การบริหาร
                                                                                           ่
                              ่
                                                                          ่
                       จัดการปาไม้ ต่อมานายเสลดได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้ากรมปาไม้ (อธิบดีกรมปาไม้)  คนแรกใน
                                       ่
                                                                               ่
                       ประวัติศาสตร์การปาไม้เมืองไทยทั้งนี้การบริหารจัดการทรัพยากรปาไม้ในสมัยนั้นเน้นการทําไม้สัก
                                                 ่
                       และต่อมาเป็นไม้กระยาเลยจากปาธรรมชาติโดยผู้รับสัมปทานส่วนใหญ่มักเป็นบริษัทต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่
                       เป็นบริษัทของอังกฤษ เช่น บริษัทบอมเบย์ - เบอร์มาร์โดยรัฐบาลสยามได้รายได้จากการสัมปทานโดย
                                                                                       ่
                                                                                                 ่
                       เก็บค่าภาคหลวงการทําไม้ในเขตสัมปทาน ประเทศไทยเปิดให้มีการสัมปทานปาไม้ในเขตปาธรรมชาติ
                                                                ่
                       นับตั้งแต่นั้นเรื่อยมา แต่ได้ประกาศปิดสัมปทานปาไม้ทั่วประเทศอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2532
                                                                                                 ่
                       หลักเกิดภัยพิบัตินํ้าท่วมดินถล่มที่พิปูน นครศรีธรรมราช ซึ่งนับรวมเวลาในการทําไม้ในปาธรรมชาติ
                                                                   ่
                       เกือบหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมารัฐใช้อํานาจผ่านกรมปาไม้โดยมีความพยายามอย่างต่อเนื่องในการ
                                               ่
                                                                                    ่
                                                         ่
                       ใช้อํานาจประกาศให้พื้นที่ปาเป็นพื้นที่ปาไม้ของรัฐและออกกฎหมายปาไม้เพื่ออํานวยการให้รัฐ
                                                                                   ่
                       มีอํานาจและหน้าที่ในการจัดสรรการใช้ประโยชน์ทรัพยากรในพื้นที่ปาไม้แต่เพียงผู้เดียว ดังนั้น
                                                         ่
                       เทคนิคของรัฐในการควบคุมทรัพยากรปาไม้ก็คือการกําหนดพื้นที่ให้เป็นของรัฐและออกกฎหมาย
                                                                                         ่
                       เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสําหรับเจ้าหน้าที่รัฐในการจัดสรรการใช้ประโยชน์ทรัพยากรปาไม้ในปี พ.ศ. 2507
                           ่
                                          ่
                       กรมปาไม้ออกกฎหมายปาสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507  นัยสําคัญของกฎหมายฉบับนี้คือการกําหนดนิยาม
                             ่
                       “ที่ดินปาไม้”  ซึ่งกฎหมายฉบับนี้นิยามว่า “ที่ดินที่ยังไม่มีบุคคลใดครอบครองเป็นเจ้าของตามประมวล
                       กฎหมายที่ดิน” หมายความว่าที่ดินทั้งที่มีต้นไม้ปกคลุมและไม่มีต้นไม้ปกคลุมแต่ยังไม่มีการออกเอกสารสิทธิ์
                                                 ่
                                                                  ่
                       ที่ดินโดยกรมที่ดินถือเป็นที่ดินปาไม้และจัดเป็นพื้นที่ปาสงวนแห่งชาติ
                                           ่
                                                                                          ่
                              นอกจากนี้กรมปาไม้ออกประกาศพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปา พ.ศ. 2503 ทั้งนี้
                                                               ่
                                                                                             ่
                                                         ่
                       ในเชิงการควบคุมพื้นที่เพื่ออนุรักษ์สัตว์ปากรมปาไม้ได้ประกาศเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาขึ้นทั่วประเทศ
                                                ่
                       ในระยะเวลาใกล้เคียงกันกรมปาไม้ออกประกาศพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และมีการ
                                                                                                     ่
                       ประกาศอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย และประกาศปาสลัก
                                                              ่
                       พระจังหวัดกาญจนบุรีเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปาแห่งแรกในประเทศไทยเช่นเดียวกัน แต่ดูเหมือนว่า
                                      ่
                                                                   ่
                       ระบบการจัดการปาแบบรวมศูนย์อํานาจโดยมีกรมปาไม้ทําหน้าที่หลักไม่สอดคล้องกับระบบสังคม
                                                                                                      ่
                       การเมืองและระบบนิเวศธรรมชาติในสังคมไทยและไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เดิมที่จะเพิ่มพื้นที่ปาไม้
                                                                                       ่
                                           ่
                       ในทางตรงกันข้ามพื้นที่ปาไม้ในประเทศไทยกลับลดลงอย่างต่อเนื่องโดยพื้นที่ปาได้ลดลงจากประมาณ
                       ร้อยละ 43 ของพื้นที่ประเทศในปี พ.ศ. 2516 เหลือเพียงประมาณร้อยละ 25 ในช่วงทศวรรษ 2540
                            ่
                       (กรมปาไม้, 2552)
                                                            ่
                              “ชาวบ้าน” และ “ระบบเกษตรกรรมในปา” มักถูกตําหนิจากเจ้าหน้าที่และสังคมว่าเป็นสาเหตุหลัก
                                                           ่
                            ั
                       ของปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรปาไม้รัฐมักมองว่าชาวบ้านและระบบเกษตรกรรมดังกล่าว
                                                                                                      3‐12
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46