Page 42 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 42

่
                       เป็นศัตรูที่ร้ายกาจต่อทรัพยากรปาไม้และได้ใช้ความพยายามหลายครั้งในการควบคุมประชากร
                                                                                     ่
                                                                ั
                                ่
                       ที่อาศัยในปาซึ่งมักถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุของปญหาการลดลงของพื้นที่ปาไม้ เช่น ในปี พ.ศ. 2533
                            ่
                       กรมปาไม้ได้ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกองทัพบก (กองอํานวยการรักษา
                                                                                           ่
                       ความมั่นคงภายใน)  ดําเนินโครงการจัดสรรที่ดินทํากินแก่ราษฎรผู้ยากไร้ในพื้นที่ปาสงวนเสื่อมโทรม
                                                                                                    ่
                       หรือที่รู้จักกันในนาม “ค.จ.ก.” โดยมีการอพยพชาวบ้านที่อาศัยอยู่อย่างกระจัดกระจายในเขตปาต้นนํ้า
                                              ่
                       ให้มาอยู่รวมกันในเขตพื้นที่ปาสงวนเสื่อมโทรมและมีความเปราะบางทางระบบนิเวศทั้งนี้ทางโครงการ
                                                                 ่
                       วางแผนที่จะดําเนินการกับราษฎรที่อยู่ในเขตปาทั่วประเทศโดยได้ริเริ่มการดําเนินโครงการที่
                       ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่แรกในพื้นที่อพยพทางโครงการฯ ได้จัดตั้งระบบหมู่บ้านและจัดสรร
                                                                    ้
                       ที่อยู่อาศัยและที่ดินทํากินให้กับเกษตรกรในพื้นที่เปาหมายและเมื่ออพยพชาวบ้านออกไปแล้ว
                               ่
                                                                    ่
                       ทางกรมปาไม้และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ทําการปลูกปาเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศต้นนํ้าโดยไม่ได้คํานึงว่า
                                                                                           ่
                       การอพยพชาวบ้านออกจากพื้นที่ต้นนํ้านอกจากไม่นําไปสู่การฟื้นฟูและรักษาพื้นที่ปาไม้แล้วยังนําไปสู่
                                                                              ่
                       ความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐและชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในเขตปาอีกด้วย
                              อย่างไรก็ดีมีการโต้แย้งจากนักวิชาการทั้งไทยและต่างประเทศในเรื่องข้อกล่าวหาของรัฐที่ว่า
                                     ่
                                                                                          ั
                                                                                                         ่
                       “ชาวบ้านทําลายปา” นักวิชาการกลุ่มนี้พยายามชี้ให้เห็นถึงความสลับซับซ้อนของปญหาการทําลายปา
                                                          ั
                                                                                           ่
                       ซึ่งมีข้อสรุปร่วมกันว่าสาเหตุสําคัญของปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรปาไม้สืบเนื่องจาก
                       นโยบายการพัฒนาของรัฐที่มุ่งเน้นการผลาญทรัพยากรและการรักษาความมั่นคงของชาติการลดลง
                               ่
                       ของพื้นที่ปาจึงเกี่ยวข้องโดยตรงกับการพัฒนาเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแต่ดูเหมือนว่าข้อโต้แย้งดังกล่าว
                                                          ่
                       ไม่ได้นําไปสู่การทบทวนและสร้างนโยบายปาไม้ที่เอื้อประโยชน์ต่อชาวบ้านเท่าไรนัก
                                               ่
                              นโยบายการจัดการปาของไทยยังคงเน้นการอนุรักษ์และคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ
                                                                  ่
                       โดยยังคงมองชาวบ้านเป็นศัตรูสําคัญของทรัพยากรปาไม้ในช่วงปลายทศวรรษ 2520  คณะรัฐมนตรี
                                                                                      ่
                                      ่
                       มีมติผ่านนโยบายปาไม้แห่งชาติ พ.ศ. 2528  ซึ่งกําหนดให้ประเทศควรมีพื้นที่ปาไม้อย่างน้อยร้อยละ 40
                                                     ่
                                                                                                 ่
                       ของพื้นที่ประเทศโดยแบ่งเป็นพื้นที่ปาอนุรักษ์ร้อยละ 25  และอีกร้อยละ 15  เป็นพื้นที่ปาเศรษฐกิจ
                                                  ่
                       เพื่อบรรลุนโยบายดังกล่าวกรมปาไม้ในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ดําเนินยุทธศาสตร์อย่างน้อย
                       2 ยุทธศาสตร์หลักได้แก่ 1) การเร่งประกาศพื้นที่อนุรักษ์ซึ่งรวมถึงพื้นที่อุทยานแห่งชาติและเขตรักษา
                                ่
                                                                                       ่
                       พันธุ์สัตว์ปาและ 2)  การส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนปลูกสร้างสวนปาขนาดใหญ่โดยเฉพาะ
                                                                                                         ่
                            ่
                                                                  ่
                       สวนปายูคาลิปตัส ซึ่งยุทธศาสตร์ทั้งสองของกรมปาไม้นําไปสู่ความขัดแย้งกับชาวบ้านในพื้นที่ปา
                               ่
                       ซึ่งอาศัยปาในการดํารงชีพตัวอย่างที่สําคัญและเป็นกรณีศึกษาของผู้เขียน ได้แก่ กรณีความขัดแย้ง
                       ระหว่างชาวบ้านห้วยแก้วตําบลห้วยแก้วอําเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่กับนักธุรกิจในท้องถิ่น
                              ่
                                                                                                         ่
                                                         ่
                       โดยกรมปาไม้อนุญาตให้นักธุรกิจเช่าพื้นที่ปาสงวนแห่งชาติจํานวน 235  ไร่เพื่อทําการปลูกสร้างสวนปา
                                                                                                     ่
                       ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่ชาวบ้านห้วยแก้วอ้างว่าเป็นพื้นที่ต้นนํ้าลําธารแหล่งเก็บหาของปาและ
                                                                                                      ั
                       พื้นที่เลี้ยงสัตว์ของชุมชน ดังนั้น พวกเขาจึงต่อต้านการเช่าที่ดินของเอกชนจากรัฐและกลายเป็นปญหา
                       ความขัดแย้งในที่สุดนอกจากนี้การเร่งประกาศพื้นที่อนุรักษ์ที่ขาดการปรึกษาหารือกับชาวบ้านและ
                                                                            ั
                       หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นอย่างเหมาะสมทําให้เกิดปญหาการซ้อนทับระหว่างพื้นที่ทํากิน



                                                                                                      3‐13
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47