Page 49 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 49

28


               กลุมเปาหมายในพื้นที่มากขึ้นในสวนของกลไกการติดตามและประเมินผลการทํางานพบวา สหราชอาณาจักรมี
               ระบบการติดตามและประเมินผลและระบบฐานขอมูลที่เขมแข็ง โดย HPA เปนหนวยงานที่มีบทบาทในการ

               ประสานและวิเคราะหขอมูลจากหนวยงานตางๆ ที่ทํางานดานเอชไอวี
                       ในสวนของการพัฒนากรอบกฎหมายเพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนผูติดเชื้อเอชไอวี พบวา กอนป พ.ศ.
               2553 สิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีไดรับการรับรองและคุมครองภายใตกรอบกฎหมายวาดวยขจัดการเลือกปฏิบัติ
               ซึ่งในประเทศสหราชอาณาจักรมีกฎหมายในหมวดดังกลาวถึง 3 พระราชบัญญัติหลักดวยกัน กลาวคือ

                       1.  พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติทางเพศ พ.ศ. 2518 (1975)
                       2.  พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ พ.ศ. 2519 (1976)
                       3.  พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ พ.ศ. 2538 (1995)  แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.
                          2548 (2005)

                       สําหรับการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีนั้น ไดกําหนดใหอยูภายใตพระราชบัญญัติการเลือก
               ปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ พ.ศ. 2538  โดยกฎหมายฉบับดังกลาวไดบัญญัติไววา หามมิใหมีการเลือก
                                                          58
               ปฏิบัติตอผูที่ติดเชื้อเอชไอวีดวยเหตุแหงความพิการ ในกรณีดังตอไปนี้ การศึกษา การจางงาน การเขารวม
               เปนสมาชิกของสหภาพ การจัดการที่อยูอาศัย การเขาถึงสินคา บริการและเครื่องอํานวยความสะดวก เปนตน

               สําหรับประเด็นการจางงานนั้นกฎหมายไดบัญญัติใหมีผลบังคับใชทั้งในประเทศอังกฤษ สก็อตแลนด ไอรแลนด
               เหนือและเวลส
                       อยางไรก็ดี แมวาจะมีกฎหมายที่รับรองและคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวีจากการเลือกปฏิบัติ แต

               ก็พบวา การบังคับใชกฎหมายยังไมมีประสิทธิภาพเนื่องจากความซ้ําซอนและความไมสอดคลองของตัวบท
               กฎหมายในการสงเสริมความเทาเทียมและการขจัดการเลือกปฏิบัติ นอกจากนั้น ยังพบวาในสวนของ
               พระราชบัญญัติการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ พ.ศ. 2538 นั้นยังมีชองวางที่สงผลในเชิงลบตอการ
               คุมครองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อเอชไอวีจากการเลือกปฏิบัติ ซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้

                       -  แมวากฎหมายกําหนดใหผูติดเชื้อเอชไอวีตองไดรับความคุมครองตาม พรบ. ฉบับนี้ แตตองเปน
                          ผูติดเชื้อที่จะตองแสดงใหเห็นถึงอาการของโรคใหปรากฎเทานั้น บุคคลที่ติดเชื้อเอชไอวี แตไม
                          แสดงอาการจะไมไดรับการคุมครองตามพระราชบัญญัติฉบับนี้

                       -  กฎหมายฉบับนี้จะไมขยายความคุมครองไปยังบุคคลที่เชื่อวาเปนผูติดเชื้อเอชไอวี รวมถึง
                          บุคคลผูใกลชิด เชน สมาชิกครอบครัว ก็จะไมอยูในความคุมครองตามพระราชบัญญัติฉบับนี้
                       -  ผูติดเชื้อเอชไอวีที่ใชยาเสพติดโดยใชเข็มฉีดยาจะไมไดรับการคุมครองตามกฎหมายฉบับนี้
                       -  กฎหมายไมใชบังคับกับนายจางหรือสถานประกอบการขนาดเล็ก เฉพาะนายจางที่มีลูกจาง

                          ตั้งแต 15 คนขึ้นไปเทานั้นถึงจะอยูในบังคับของกฎหมายฉบับนี้
                       -  กฎหมายยกเวนไมบังคับใชในกรณีการประกอบอาชีพ อาทิ การรับราชการทหาร ตํารวจ และไมมี
                          ผลบังคับใชกับองคกรวิชาชีพ อาทิ เนติบัณฑิตยสภา

                       -  การไลออกจากงานเนื่องมาจากเหตุอื่นนอกเหนือไปจากการเปนผูติดเชื้อเอชไอวี เชน การละเมิด
                          ขอสัญญา เชน การสิ้นสุดสัญญาจางงานเนื่องจากไมมีเงินจาง ไมถือเปนการเลือกปฏิบัติตาม
                                             59
                          พระราชบัญญัติฉบับนี้

               58
                 Chapter 13, Section 18 ไดกําหนดให การเปนผูติดเชื้อเอชไอวีถือเปนประเภทหนึ่งของความพิการที่ไดรับการคุมครอง
               ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ (The Disability Discrimination Act 2005 (DDA))
               59 National AIDs Trust, Overview of UK Anti-Discrimination Law: Fact Sheet 6,  February 2003,
               www.areyouhivprejudice.org
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54