Page 53 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 53

32


               ไดรับความคุมครองโดยไมแบงแยก อาทิ การดูแลใหมีการปฏิบัติและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมายอยาง
                                             75
               ถูกตอง รวดเร็ว เปนธรรมและทั่วถึง  เปนตน
                       -  หลักสิทธิสวนบุคคล (privacy)  ซึ่งหมายถึงสิทธิของบุคคลที่จะอยูโดยลําพังปราศจากการ
               แทรกแซงของบุคคลอื่น โดยรัฐตองใหความคุมครองและเปนสิทธิที่ลวงละเมิดไมได เวนแตเพื่อประโยชนของ
               สาธารณะ โดยรัฐธรรมนูญไดมีการรับรองและคุมครองสิทธิสวนบุคคลในหลายมาตรา อาทิ มาตรา 35 ให
               ความคุมครองสิทธิสวนบุคคล โดยเฉพาะในเรื่องการเผยแพรขอมูลที่กระทบถึงสิทธิสวนบุคคล สวนมาตรา 44

               คุมครองหลักประกันเรื่องความปลอดภัยและสวิสัดการในการทํางาน และมาตรา 51 คุมครองสิทธิในการรับ
                                                             76
               บริการทางดานสาธารณสุขที่เหมาะสมและไดมาตรฐาน
                       นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญยังไดกําหนดหนาที่ของรัฐในการปฏิบัติตามนโยบายของรัฐและพันธกรณีตาม

               กฎหมายระหวางประเทศวาดวยสิทธิมนุษยชนในการคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพและความ
                                                                            77
               เสมอภาคของบุคคล ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม ในประเด็นดานการคุมครองสิทธิ
               มนุษยชน รัฐธรรมนูญไดบัญญัติใหมีการจัดตั้งองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ไดแก คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
               แหงชาติ เปนกลไกสําคัญในการดําเนินงานดานสิทธิมนุษยชนในทุกดาน รวมถึงการคุมครองสิทธิมนุษยชนของ
               ผูติดเชื้อเอชไอวี


                       2.3.2  กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับเอชไอวี/เอดส: กรณีการจางงาน
                       นอกจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติคุมครองและรับรองสิทธิของบุคคล ซึ่งสามารถ

               นํามาบังคับใชกรณีผูติดเชื้อเอชไอวีที่ถูกละเมิดสิทธิ แลวยังมีกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ และอนุบัญญัติ
               อื่นๆ ที่สามารถนํามาบังคับใชกับกรณีการละเมิดสิทธิของผูติดเชื้อเอชไอวี และการสงเสริมการเขาถึงการรักษา
               บริการอื่นๆ ดังตอไปนี้

                       -  พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 และพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธี
               พิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 โดยเฉพาะในการคุมครองแรงงานตามหลักความเสมอภาคและการไมเลือก
               ปฏิบัติและการหามมิใหมีการลวงละเมิดทางเพศตอลูกจาง นอกจากนี้ หากลูกจางไมไดรับความเปนธรรมใน
               กรณีไลออกจากงานดวยเหตุจากการเปนผูติดเชื้อเอชไอวี นอกจากนี้ พระราชบัญญัติคุมครองแรงงานมี

               บทบัญญัติคุมครองในสวนที่เกี่ยวกับคาชดเชยและการเลิกจางที่ไมเปนธรรม และกําหนดใหแรงงานผูถูกละเมิด
               สิทธิตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน ใหแรงงานมีสิทธิรองทุกขตอพนักงานตรวจแรงงานหรือฟองคดีตอ
               ศาลแรงงาน นอกจากนี้ในสวนที่เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลแรงงานที่เปนผูติดเชื้อเอชไอวี พบวา แรงงานซึ่ง

               เปนผูประกันตนภายใตกองทุนประกันสังคมและเปนผูติดเชื้อเอชไอวีไดรับการคุมครองตามพระราชบัญญัติ
               ประกันสังคม พ.ศ. 2533 ซึ่งไดมีการประกาศคณะกรรมการการแพทยตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.
               2533 เรื่อง หลักเกณฑและอัตราสําหรับประโยชนทดแทนกรณีผูประกันตนที่ติดเชื้อเอชไอวี และผูประกันตนที่
               เปนโรคเอดสใหไดรับยาตานไวรัสเอดสตามมติคณะกรรมการแพทย

                       -  ประมวลกฎหมายอาญา พบวา การเปดเผยความลับเกี่ยวกับสถานการณติดเชื้อเอชไอวี ถือเปน
                                         78
               ความผิดฐานฐานหมิ่นประมาท  และมีความผิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยลักษณะ 5 ละเมิด




               75
                  มาตรา 81 (1)
               76
                 อาทิ มาตรา 35, 44, 51
               77 อาทิ มาตรา 80 – 82
               78 มาตรา 322 - 333
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58