Page 54 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 54

33


                        อยางไรก็ดี พบวายังมีกฎหมายลูก เชน ระเบียบหนวยงานอีกบางฉบับบัญญัติขัดหรือแยงตอหลักการ
               ที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ไดใหการรับรองและคุมครอง โดยเฉพาะในกรณีสิทธิในการประกอบ

               อาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน อาทิ
                       1.  ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวยเรื่อง รับสมัครและสอบแขงขันบุคคลภายนอกผูมีวุฒิ
               ปริญญาตรี เพื่อบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการตํารวจชั้นประทวน พ.ศ. 2551 ระบุวา ผูสมัครสอบตองมี
               คุณสมบัติทั่วไปและไมมีลักษณะตองหามตามประกาศซึ่งไดระบุโรคตองหามไวหลายโรค หนึ่งในจํานวนหลาย

               โรคคือโรคเอดส (ขอ 11.8.5)
                       2.  ระเบียบคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมวาดวยโรคอันมีลักษณะตองหามที่จะเปนขาราชการ
               ตุลาการ พ.ศ. 2545  เปนระเบียบที่ออกตามระเบียบคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม วาดวยหลักเกณฑ
               และวิธีการตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัครสอบคัดเลือก ผูสมัครทดสอบความรู หรือผูสมัครเขารับการคัดเลือก

               พิเศษ เพื่อบรรจุเปนขาราชการตุลาการในตําแหนงผูชวยผูพิพากษา พ.ศ. 2545 ระเบียบทั้งสองฉบับ
               ประกาศใช ณ วันที่ 10 มกราคม 2545 กําหนดเงื่อนไขเรื่องโรคอันมีลักษณะตองหามที่จะเปนขาราชการตุลา
               การ  แมมิไดกําหนดเรื่องโรคเอดสไวโดยแจงชัด แตตามระเบียบขอ 3(6) ไดกําหนดเรื่องโรคติดตอที่เปนเหตุให
               ไมเหมาะสมที่จะเปนขาราชการตุลาการซึ่งอาจมีการใชดุลพินิจหรือการปฏิบัติอันเปนการรังเกียจหรือเลือก

               ปฏิบัติเนื่องจากเอดสได
                       3.  กฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ 17 (พ.ศ. 2536) วาดวยการแตงตั้ง ถอดถอนพระอุปชฌาย หมวด 3
               ซึ่งกําหนดใหพระอุปชฌายงดเวนการใหบรรพชาอุปสมบทแกคนตองหาม รวมถึงผูติดเชื้อเอชไอวีดวย ซึ่งเขา

               ขายการปฏิบัติโดยไมเปนธรรมและถือเปนการเลือกปฏิบัติเนื่องดวยเหตุแหงการเปนผูติดเชื้อเอชไอวี
                       เมื่อพิจารณาประเด็นกลไกการคุมครองผูติดเชื้อเอชไอวีจากการเลือกปฏิบัติจากการทํางาน พบวา
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติถือเปนกลไกที่สําคัญ เนื่องจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมี
               อํานาจหนาที่ในการรับเรื่องรองเรียน ทําหนาที่ตรวจสอบกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชน จัดทํารายงานผลการ
               ตรวจสอบเพื่อเสนอมาตรการในการแกไขปญหาหรือขอเสนอแนะเชิงนโยบาย และการปรับปรุงแกไขกฎหมาย

               เพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน ในฐานะกลไกการคุมครอง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ มี
               อํานาจเสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวากฎหมาย
               กระทบตอสิทธิมนุษยชนและไมชอบดวยรัฐธรรมนูญ หรือเสนอเรื่องตอศาลปกครองเกี่ยวกับคําสั่งทาง

               ปกครองที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมชอบดวยกฎหมายรัฐธรรมนูญ หรือฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทน
               ผูเสียหาย  79
























               79  พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59