Page 51 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 51
30
65
64
ละเมิด และ 3) การขมขู หรือทําใหบุคคลอื่นตกเปนเหยื่อ กรณีการเลือกปฏิบัติจากการประกอบอาชีพ
พบวา กฎหมายฉบับดังกลาวไดบัญญัติหามมิใหนายจาง ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมตลอดถึง ผูประกอบการ
เลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวีในการจางงาน และหามมิใหมีการใชแบบสอบถามเกี่ยวกับสุขภาพและความ
66
พิการกอนการจางงาน เพื่อสงเสริมการขจัดการเลือกปฏิบัตินายจางมีหนาที่ในการดําเนินงานตางๆ ในการ
ขจัดการเลือกปฎิบัติ การปรับปรุงกรณีตางๆ ใหเหมาะสมกับผูพิการ อาทิ การปรับปรุงในเรื่องของเกณฑและ
แนวปฏิบัติที่สงผลใหผูพิการเสียเปรียบ การจัดใหมีเครื่องชวยเหลือเพิ่มเติมเพื่อประกันวาผูพิการจะไม
67
เสียเปรียบบุคคลอื่นๆ เปนตน นอกจากนี้พระราชบัญญัติฉบับนี้ยังไดขยายความคุมครองไปยังบุคคลผูใกลชิด
68
กับผูติดเชื้อเอชไอวีดวย
พระราชบัญญัติวาดวยความเสมอภาค พ.ศ.2553 (2010) กําหนดใหมีการปฏิบัติเชิงบวกเพื่อสงเสริม
สิทธิในความเสมอภาค โดยใหความสําคัญตอวิธีการในสัดสวนที่เหมาะสม (proportionate means) เพื่อ
บรรลุเปาหมายสําคัญ 3 ประการ กลาวคือ การสงเสริมใหบุคคลที่ถูกเลือกปฏิบัติตามลักษณะที่กฎหมาย
รับรองคุมครองใหลดขอเสียเปรียบที่เกี่ยวของกับเหตุแหงการเลือกปฏิบัติ; สนองตอบความตองการของบุคคล
ที่มีลักษณะที่เปนเหตุแหงการเลือกปฏิบัติรวมกันซึ่งแตกตางจากบุคคลอื่นๆ หรือสงเสริมใหบุคคลที่มีลักษณะที่
เปนเหตุแหงการเลือกปฏิบัติรวมกันเขามามีสวนรวมในกิจกรรมที่บุคคลกลุมดังกลาวเขามามีสวนรวมนอย เชน
69
การจัดการฝกอบรมโดยมีกลุมเปาหมายเพื่อใหกลุมที่เสียเปรียบสามารถเขารวมกิจกรรมตาง ในมาตรา 159
แหงพระราชบัญญัติวาดวยความเสมอภาคกําหนดใหมีการปฏิบัติเชิงบวกกรณีการจางงานและการเลื่อน
ตําแหนง เปนตน
กรณีการบังคับใชกฎหมายในสวนที่เกี่ยวกับการจางงาน พบวา พระราชบัญญัติกําหนดขยายบทบาท
และหนาที่ของคณะกรรมการการจางงาน (employment tribunal) ในมาตรา 124 โดยใหคณะกรรมการฯ มี
อํานาจจัดทําขอเสนอแนะเพื่อใหนายจางขจัดหรือลดผลกระทบจากการเลือกปฏิบัติตอผูเสียหาย และมีอํานาจ
แนะนําใหสถานประกอบการดําเนินการลดผลกระทบในเชิงลบของการเลือกปฏิบัติในสถานประกอบการ เชน
การกําหนดนโยบายการจางงานที่ใหโอกาสที่เทาเทียม แมวาขอเสนอแนะนี้จะไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย แต
หากสถานประกอบการไมดําเนินการตามขอเสนอแนะอาจใชเปนหลักฐานในการฟองรองคดีที่เกี่ยวของกับการ
เลือกปฏิบัติกรณีอื่นๆ นอกจากนี้ในการพิจารณาคดี ใหภาระการพิสูจนตกแกผูถูกกลาวหา เมื่อคํารอง/คําฟอง
ของผูรองมีความชัดเจน เวนแตการฟองคดีอาญาใหภาระการพิสูจนเปนไปตามหลักการพิจารณาคดีอาญา
70
กลาวคือ หลักการปราศจากเหตุแหงความสงสัย
64 Chapter 2, Section 26
65
Chapter 2, Section 27
66
Section 60
67
Section 39 (5)
68
Chapter 2, Sects 26 - 27
69 Section 158
70 Section 136