Page 50 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 50

29


                       ในป 2553 เพื่อแกไขปญหาในการบังคับใชพระราชบัญญัติ DDA รัฐบาลไดยกเลิกพระราชบัญญัติ
               DDA และประกาศใชกฎหมายวาดวยความเสมอภาค (Equality Act 2010) โดยพระราชบัญญัติวาดวยความ

               เสมอภาคนี้มีผลบังคับใชในประเทศอังกฤษ เวลส และสก็อตแลนด ยกเวนในไอรแลนดเหนือ วัตถุประสงคของ
               การประกาศใชพระราชบัญญัติดังกลาว เพื่อ:
                       -  ความสอดคลองและทําใหบทบัญญัติวาดวยความเสมอภาคถูกบังคับใชภายใตพระราชบัญญัติ
                          เดียวเพื่อลดความทับซอน

                       -  ความชัดเจนของคํานิยามความหมายของ “การเลือกปฏิบัติ”,  “การลวงละเมิด” และ “การ
                          ขมขู” และการปรับใชความหมายของคําดังกลาวในเหตุแหงการเลือกปฏิบัติที่กฎหมายรับรอง

                       -  การกําหนดหนาที่เชิงบวกใหกับเจาหนาที่เพื่อสงเสริมความเสมอภาคในทุกรูปแบบ และกําหนด
                          หนาที่ของเจาหนาที่รัฐตอการดําเนินงานโดยพิจารณาตอความเสียเปรียนในเชิงสังคมเศรษฐกิจ
                                                         60
                          โดยเฉพาะในเวลาการกําหนดนโยบาย
                       สําหรับสาระสําคัญของพระราชบัญญัติความเสมอภาคนั้นกฎหมายคุมครองลักษณะที่สําคัญที่เปนเหตุ
               แหงการเลือกปฏิบัติ ซึ่งหนึ่งในลักษณะดังกลาวไดแก การเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ มาตรา 6 (1)

               แหงพระราชบัญญัติความเสมอภาค ไดใหนิยามความหมายของ “ความพิการ” หมายถือ ความบกพรอง/
               ความผิดปกติทางกาย ทางจิตใจ และความบกพรอง/ความผิดปกตินั้นจะตองมีผลกระทบซึ่งเปนผลเสียใน
               ระยะยาวและเปนผลกระทบที่สําคัญอยางยิ่งตอความสามารถในการประกอบกิจกรรมอันเปนปกติ

               นอกจากนี้ พระราชบัญญัติฯ ยังกําหนดบทบัญญัติคุมครองบุคคลที่เปนโรคมะเร็ง ผูติดเชื้อเอชไอวี หรือเปน
               โรคปลอกประสาทเสื่อมในความหมายของความพิการอันเนื่องมาจากการมีเงื่อนไขดานการรักษาที่ชัดเจน 61
               โดยกฎหมายฉบับนี้ใหความสําคัญกับประเด็นดังตอไปนี้ไดขยายความคุมครองในประเด็นที่เกี่ยวกับเงื่อนเวลา
               ของความพิการซึ่งใหการคุมครองไมเพียงผูติดเชื้อเอชไอวีที่แสดงอาการเทานั้น แตยังใหขยายความคุมครองถึง

               บุคคลที่ไดรับการตรวจวินิจฉัยวาเปนผูติดเชื้อเอชไอวีแมจะไมไดแสดงอาการ
                       จากการศึกษาพบวา การกระทําที่ถือเปนความผิดภายใตกฎหมายฉบับนี้ คือ1) การเลือกปฏิบัติ ซึ่ง
                                                                                   62
               ประกอบไปดวยการเลือกปฏิบัติโดยตรง (การปฏิบัติที่แยกวาการปฏิบัติตอผูอื่น)  และโดยออม (การสราง
                                            63
               อุปสรรคหรือเงื่อนไขโดยไมจําเปน) รวมถึงการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความแตกตางที่มีสองลักษณะขึ้นไป
               เชน เปนผูติดเชื้อเอชไอวี และเปนกลุมที่มีรสนิยมทางเพศในลักษณะชายรักชาย ซึ่งมักจะถูกเลือกปฏิบัติจาก
               การมีลักษณะทั้งสองประการในเวลาเดียวกัน สําหรับบริบทของการขจัดการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความ
               พิการ พบวา การปฏิบัติที่เปนพิเศษมากกวาผูอื่นเปนสิ่งที่กระทําไดและไมถือเปนการเลือกปฏิบัติ 2) การลวง


               60 Bob Hepple, The New Single Equality Act in Britain, 5 The Equal Right Review 2010, 11
               61
                  Part 2, Chapter 1, Para 6 (a), (b) และ Sch 1: Supplementary Provision, Para 6, the Equality Act 2010
               62
                 High Quality  Lifestyles VS Watt  , Employment Appeal Tribunal, April 2006, UKEAT/0671/05/ZT ซึ่ง
               คณะกรรมการอุทธรณแรงงาน (Employment Appeal Tribunal) ไดวางหลักเกี่ยวกับ การเลือกปฏิบัติโดยตรงไว ซึ่งผูรอง
               เปนผูติดเชื้อเอชไอวีและทํางานในสถานพยาบาลผูปวยทางจิต ซึ่งบางครั้งพนักงานอาจถูกผูปวยขวนหรือกัดได ผูรองไมไดแจง
               ใหนายจางทราบถึงการเปนผูติดเชื้อตอนสมัครงาน แตหลังจากไดงานผูรองแจงใหนายจางทราบและไมไดทํางาน หลังจากนั้นผู
               รองถูกไลออกจากการจากการประเมินความเสี่ยง โดยแนวทางปฏิบัติของกรมสาธารณสุขในป 2548 อนุญาตใหผูที่ติดเชื้อ
               ไวรัสโดยทางเลือดสามารถทํางานในสถานพยาบาลผูปวยทางจิตซึ่งอาจมีความเสี่ยงจาการถูกกัดได ซึ่งหลักฐานตางๆยังไมเปน
               ที่ยุติและยังตองมีการทบทวนศึกษาตอไป ดังนี้คณะกรรมการวินิจฉัยตัดสินใหนายจางมีความผิดเนื่องจากเปนการเลือกปฏิบัติ
               โดยตรง การประเมินความเสี่ยงโดยนายจางไมอาจนํามาอางได และนายจางมีความผิดเนื่องจากไมดําเนินการปรับปรุงแกไข
               สภาพการทํางานใหเหมาะสม (reasonable adjustment) ตอสภาพแหงความพิการของลูกจาง
               63 Chapter 2, Sections 13, 14, 19
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55