Page 81 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 81

72


                        3.6.2 ตัวอยางมาตรการทางกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส

                        LoiRaffarin

                        ปจจุบันประเทศฝรั่งเศสมีกฎหมาย Raffarin ใชบังคับเมื่อวันที่ 5  กรกฎาคม 1996  โดยปรับแกจาก
                  กฎหมาย Royer  ซึ่งกําหนดใหรานคาปลีกขนาดใหญที่มีขนาดตั้งแต 300  ตารางเมตร ตองขออนุญาตจาก
                  คณะกรรมการฯ ที่เรียกวา The Departmental  Retail Facility  Commission  หรือในภาษาฝรั่งเศส

                  Commissions départementalesd’équipement commercial (CDEC) มีวัตถุประสงคเพื่อปกปองธุรกิจ
                  ขนาดเล็ก และจํากัดการขยายตัวของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ เชน กลุมทุนเยอรมันที่มีศักยภาพทางการตลาด
                  มากกวา แตกระนั้นก็ถูกตอตานจากนักลงทุนกลุมสหภาพยุโรปวาเปนคุกคามการแขงขันทางการคาและ
                                                                    40
                  สรางความเสียหายแกลูกคาในการซื้อสินคาหรือบริการราคาถูก 39
                        กฎหมายฉบับนี้พัฒนามาจากกฎหมาย Loi Royer ซึ่งไดตราไวเมื่อป ค.ศ. 1973 เพื่อควบคุมการ

                  ขยายตัวของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญที่มีขนาดตั้งแต 1,000  ตารางเมตร ขึ้นไป จะเห็นไดวา นอกจากจะลด
                  ขนาดลง ในการขออนุญาตประกอบการตองผานการศึกษาถึงผลกระทบเรื่องสภาพทองถิ่นโดย
                  คณะกรรมการฯ ที่มีนายกเทศมนตรีแหงทองถิ่นเปนกรรมการอีกดวย

                                                                     41
                        ดร.นิพนธ  พัวพงศกร ไดอธิบายไวในงานวิจัยวา 40  สาเหตุสําคัญที่ประเทศฝรั่งเศสไดตรา
                  กฎหมาย Loi Royer เนื่องจากเพื่อควบคุมการขยายตัวของรานคาปลีกขนาดใหญ ปองกันผลกระทบ

                  ตอธุรกิจคาปลีกขนาดเล็ก และเพื่อสงเสริมใหเกิดการแขงขันในตลาดคาปลีกโดยเฉพาะการแขงขัน
                  ทางดานราคา คุณภาพ รวมถึงการบริการและความหลากหลายของสินคาอันเปนประโยชนโดยตรงตอ
                  ผูบริโภค แตปรากฏวากฎหมายฉบับดังกลาวมีอุปสรรคเรื่องการบังคับใชเนื่องจาก

                        1)  นโยบายการควบคุมการขยายตัวของรานคาปลีกขนาดใหญเปนนโยบายที่สวนทางกับความเจริญ
                  ทางดานเศรษฐกิจ

                        2) ปญหาการบังคับใชกฎหมาย เชน การบังคับใชกฎหมายโดยคณะกรรมการ (CDUC) ขาดความรัดกุม

                  และปญหาการติดสินบนคณะกรรมการฯ

                        3) คณะกรรมการมีสัดสวนที่มาจากผูแทนผูบริโภคมีจํานวนนอย (2 คน) เปนผลใหผูแทนที่มาจาก
                  ฝายการเมืองทองถิ่นมีอิทธิพลอยางมากตอการตัดสินอนุญาต

                        ดังนั้น การตรากฎหมาย LoiRaffarin มาบังคับใชแทน นอกจากลดขนาดพื้นที่ของรานคาปลีกที่
                  ตองขออนุญาต ยังมีในสวนของการกําหนดองคประกอบคณะกรรมการใหม ใหเหลือเพียง 6 คน จาก 7 คน
                  โดยมีนายกเทศมนตรีแหงทองถิ่น และกําหนดใหการพิจารณาอนุญาตตองคํานึงถึงสภาพปญหาในทองถิ่น

                  ประกอบดวย









                  40
                     http://www.libres.org/francais/actualite/archives/actualit%E9_1004/raffarin_a6_4404.htm
                  41
                     นิพนธ พัวพงศกร,บทที่ 8  การควบคุมจํานวนรานคาปลีกและพฤติกรรมของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ :
                  การศึกษาในตางประเทศและกฎหมายในประเทศ, 2544, หนา 232-235.
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86