Page 79 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 79

70


                        นายจีรศักดิ์ ชาติอารยะวดี อธิบายวา การบังคับใชกฎหมายไดถูกปรับใหมีความเขมงวด ทั้งนี้ขึ้นอยู
                  กับวิธีการปฏิบัติของผูมีอํานาจ ซึ่งไดแก กลุมผลประโยชนในทองถิ่นเพราะพวกเขาคํานึงถึงประโยชนของ
                  ตนเองเปนสําคัญ และใชกฎหมายดังกลาวเปนเครื่องมือในการปองกันผูคารายใหมมิใหเขามาในเขตพื้นที่ได

                  โดยงาย
                        ตอมาในภายหลัง (ค.ศ. 1980 - 1990) ประเทศญี่ปุนมีปญหาทางเศรษฐกิจ ประกอบกับผูบริโภคมี

                  ความตองการบริโภคที่หลากหลายและมีเสียงมากขึ้น ประกอบกับนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศที่ตอง
                                                                              38
                  ปรับใหเขากับระเบียบเศรษฐกิจโลกมากขึ้น (นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรี)  สงผลใหกฎหมายดังกลาวมีการ
                  ปรับใชอยางผอนคลายมากขึ้น

                        ในป ค.ศ. 1991 ไดผอนคลายขนาดของรานคาปลีก โดยมีการปรับคํานิยามของขนาดหางประเภท ที่ 1
                  จาก 1,500 ตารางเมตร เปน 3,000 ตารางเมตร (เมืองใหญปรับเปน 6,000 ตารางเมตร) และขนาดหางประเภท

                  ที่ 2 จาก 500 - 1,500 ตารางเมตร เปนขนาด 500 - 3,000 ตารางเมตร (เมืองใหญ 500 - 6,000 ตารางเมตร)
                  นอกจากยังผอนปรนเรื่องการเวลาปดของรานคาปลีกขนาดใหญจาก 18.00 น. เปน 19.00 น. เปนตน

                        ในป ค.ศ. 1994 ไดผอนคลายใหรานคาปลีกที่ใชพื้นที่นอยกวา 1,000 ตารางเมตร ไมอยูในบังคับแหง
                  กฎหมาย หรือการขยายเวลาปดจาก 19.00 น. เปน 20.00 น. หรือวันหยุดลดลงจาก 44 วัน เหลือ 24 วัน เปนตน

                        การผอนปรนดังกลาว สงผลใหรานคาปลีกที่ไมอยูภายใตกฎหมายไดกลับมาขยายตัวเพิ่มมากขึ้นอยาง

                  รวดเร็ว รวมถึงความสําเร็จของธุรกิจคาปลีกตางชาติที่เขามาลงทุนและขยายกิจการอยางรวดเร็ว เชน
                  หาง Toys “R” us ใชเวลา 6 ปนับแตเริ่มเขามาลงทุน (ค.ศ. 1991 - 1997) ขยายสาขาในประเทศญี่ปุนไดถึง
                  46  สาขา เปนตน ผลที่ตามมาคือ การเขาครองตลาดคาปลีกของกลุมทุนตางชาติ และผลกระทบที่เกิดขึ้นแก
                  รานคาปลีกทองถิ่น

                        พัฒนาการจาก “ควบคุม”เปน “การหามควบคุม”มาสู “การปองกัน”

                        การผอนคลายกฎเกณฑอยางเครงครัดเพื่อควบคุมธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ ซึ่งเปนผลมาจาก SII

                  ในป ค.ศ. 1989 ทําใหมีการยกเลิกกฎหมาย Large Scale Retail Store และมีการตรากฎหมาย Large
                  Scale Retail Store Location Law มาใชบังคับแทนในป ค.ศ. 2000 โดยที่กฎหมายฉบับกอนนั้นไดถูก
                  ออกแบบมาเพื่อปองกันรานคาปลีกขนาดเล็ก (ธุรกิจทองถิ่น) ที่อาจไดรับผลกระทบจากธุรกิจคาปลีกขนาด
                  ใหญ โดยระยะแรกวิธีปฏิบัติตามกฎหมายเปนไปอยางเครงครัด จนผอนปรนขอจํากัดตางๆ ลดลงทามกลาง

                  พลวัตทางเศรษฐกิจ ทําใหกฎหมายฉบับดังกลาวไมสอดรับกับนโยบายทางเศรษฐกิจ แตกระนั้นประเทศ
                  ญี่ปุนไดตรากฎหมายฉบับใหมขึ้นเปลี่ยนแนวทางจากการควบคุมธุรกิจมาเปนการลดปญหาผลกระทบตอ
                                                                                                 39
                  รานคาปลีกขนาดใหญที่มีตอสิ่งแวดลอม โดยเนนนโยบายเรื่อง “การอยูรวมกัน” (co-existence)




                  38
                     ขอสังเกตจากขอตกลงทวิภาคีระหวางประเทศญี่ปุนและประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ Structural
                  Impediments Initiative (SII) (1989), วา “the adjustments that flow from these measures decrease
                  revenues and delay return on investment for store operators and may even discourage or block
                  outright the opening or expansion of new retail stores. This result in restricting the growth of
                  large stores in Japan” ซึ่งถือวา การจํากัดเสรีภาพดังกลาวเปนการทําการคาที่ไมเปนธรรมและถือเปนรูปแบบ

                  ของการกีดกันทางการคา.
                  39
                     A New Era in Japan's Retailing Market Deregulation Paves the Way for Inroads by Foreign Groups,
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84