Page 82 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 82

73


                         3.6.3 ตัวอยางมาตรการทางกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา

                         ธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ หรือ "Big Box Retail" หรือเรียกวา "Superstores" ที่มีอยูอยางแพรหลายใน
                                                                                        42
                  ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดแก หาง WalMart,  หาง Costco, หาง Toys"R"Us เปนตน41   ซึ่งแสดงใหเห็นวา
                  ในประเทศสหรัฐอเมริกานั้น ตลาดการคาปลีกเปนไปอยางเสรี ซึ่งจะอาศัยเพียงการปองกันการแขงขันที่เอา
                  เปรียบและมีพฤติกรรมที่ไมเปนธรรมทางการคามากํากับ เชน  Robinson-Patman Act  1936    (พัฒนา

                  มาจาก Clayton Act มาตรา 2 หามการเลือกปฏิบัติดานราคา) ในขณะเดียวกันโดยที่การขยายตัวอยางเสรี
                  และหลากหลายกลยุทธของบรรดาหางคาปลีกขนาดใหญ ยอมเกิดผลกระทบในระดับชุมชนทองถิ่น เชน

                             1) ลดคาจางพนักงาน

                             2) เพิ่มตนทุนเทศบาล

                             3) การขยายสาขาเพิ่มขึ้นอยางไรระเบียบ

                             4) รานคาปลีกทองถิ่นแขงขันลําบากและ

                             5) ผลกระทบตอลักษณะชุมชน

                        ประเทศสหรัฐอเมริกานั้นโครงสรางการบริหารราชการแผนดินใชรูปแบบการปกครองประเทศ
                  แบบรัฐรวมที่เปนสหพันธรัฐ (Federal  State)  ประกอบดวยมลรัฐตางๆ และแบงการปกครองเปนสามสวน

                  คือ การปกครองสวนกลาง (Federal Government)  การปกครองในมลรัฐ (State Government)  และ
                  การปกครองทองถิ่น การปกครองในระดับมลรัฐและทองถิ่นแตละมลรัฐจะมีรัฐธรรมนูญเปนของตนเอง
                  เพื่อกําหนดรูปแบบการปกครองหรือความสัมพันธของอํานาจตางๆ  ได มลรัฐมีอิสระในการกําหนด (ตรา)
                  กฎหมายตางๆ ที่บังคับใชเกี่ยวการปกครองทองถิ่น หนวยการปกครองทองถิ่นมีทั้งซิตี้   (City)  ทาวนและ

                  ทาวนชิพ (Town and Township)  เคานตี้  (County)  เขตพิเศษ  (Special District)  และเขตโรงเรียน
                  (School District) เชนเดียวกันการประกอบธุรกิจคาปลีกในแตละทองถิ่น รัฐบาลแหงทองถิ่นไดตรากฎหมาย
                  ที่เรียกวา “Ordinances” เทียบเคียงกับขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร หรือขอบัญญัติเมืองพัทยา

                        ในกรณีรานคาปลีกขนาดใหญนั้น มีหลายมลรัฐไดออกกฎหมายเพื่อปองกันผลกระทบทั้งในดาน
                  สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจชุมชน การกํากับดูแลสิ่งของและการศึกษาเพื่อชวยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการประกอบการ

                  คาปลีก ขนาดใหญใหมีความเหมาะสมในชุมชน รวมถึงคําแนะนําหรือตัวอยางของแนวทางการออกแบบ
                                                                                               43
                  มาตรฐานการพัฒนาและจํากัดขนาด เปนตน ยกตัวอยางเชน City/County: Alameda County  เมื่อวันที่ 6
                  มกราคม ค.ศ. 2004  คณะกรรมการเมืองฯ ไดผานขอบัญญัติเมืองโดย เสียงเอกฉันท ในการหามรานคาปลีก
                  ขนาดใหญกวา 100,000 ตารางฟุต (1 ตารางเมตร = 10.76 ตารางฟุต)  ที่มีพื้นที่ มากกวารอยละ 10 ที่เปน

                  รานของชํา และสินคาอื่นที่ปลอดภาษีที่มิใชสินคาผลิตภัณฑทองถิ่น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปกปองผูประกอบ
                  กิจการขนาดเล็ก และปญหาดานการจราจรในเมือง หรือเมือง Greenfiled, California  ผูประกอบการรานคา
                  ปลีกขนาดใหญตองมีการจัดทํารายงานเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม และความสัมพันธระหวางชุมชนทองถิ่น  หรือเมือง
                  Albuquerque การอนุญาตประกอบกิจการตองคํานึงเรื่องความแออัดของจราจร ขนาดของสิ่งกอสรางผลกระทบ

                  ตอชุมชนขางเคียง  ผลกระทบเรื่องเสียง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรักษาสภาพแวดลอม (Natural)สภาพแหงทองถิ่น
                  (Built characteristics)  สังคม (Social)  วัฒนธรรม (Cultural)  และคุณคาทางประวัติศาสตรของทองถิ่น



                  42
                    http://www.mrsc.org/Subjects/Planning/BigBoxRetail.aspx.
                  43
                     Adam Clanton, 2004, P.65.
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87