Page 86 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 86

77


                         2) คําถามปลายเปด

                        ใชวิธีการสัมภาษณเชิงลึก โดยผูวิจัยไดอธิบายถึงสภาพปญหาและนโยบายการพัฒนาประเทศทาง
                  เศรษฐกิจและสังคมใหผูตอบทราบเบื้องตนกอนที่จะถามคําถามในแตละประเด็น

                           สวนที่ 4 ไดแก

                                ก. ความเขาใจถึงนโยบายดานเศรษฐกิจตามรัฐธรรมนูญ

                                ข. ความเขาใจถึงระบบเศรษฐกิจแบบเสรี

                                ค. ความเขาใจถึงระบบเศรษฐกิจแบบเปนธรรม

                                ง. ผลกระทบของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญที่มีตอรานคาปลีกทองถิ่นดั้งเดิม

                                จ. นโยบายของรัฐในการควบคุมการขยายตัวของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ

                                ฉ. มาตรการปองกันผลกระทบของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญที่มีตอรานคาปลีกดั้งเดิมทองถิ่น


                  4.2   วัตถุประสงค


                  ตารางที่ 12 : วัตถุประสงคของแบบสอบถาม



                    สวนที่                                      คําอธิบาย



                   สวนที่ 1  เพื่อใหทราบขอมูลพื้นฐานของผูตอบแบบสอบถาม


                              เพื่อใหทราบขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของประชาชนในฐานะผูบริโภคที่มีตอธุรกิจคาปลีก
                   สวนที่ 2
                              ขนาดใหญ



                   สวนที่ 3  เพื่อใหทราบขอมูลเกี่ยวกับทัศนคติของประชาชนในฐานะผูบริโภคที่มีตอธุรกิจคาปลีกขนาดใหญ




                   สวนที่ 4  เพื่อใหทราบขอมูลเกี่ยวกับความรูเขาใจเรื่องผลกระทบที่มีตอธุรกิจชุมชนทองถิ่น





                  4.3     พื้นที่สํารวจขอมูล

                          ผูวิจัยไดกําหนดพื้นที่เพื่อสํารวจขอมูล โดยไดแบงพื้นที่เปนภาคตาง ๆ และมีผูตอบแบบสอบถาม
                  ดังตอไปนี้

                          1) ภาคเหนือ จํานวน 73 คน

                          2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 375 คน
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91