Page 76 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 76

67


                        2) กฎหมายควบคุมอาคาร

                        กฎหมายควบคุมอาคาร ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.  2522 เปนกฎหมายที่รักษาความเปน
                  ระเบียบเรียบรอยของสังคมในเรื่องที่เกี่ยวแกการปลูกสรางอาคาร ขอปฏิบัติของเจาของอาคาร การขออนุญาต
                  และการใชงานอาคาร กฎหมายนี้เปนกฎหมายแมบทที่เกี่ยวแกอาคารมีการบังคับใชกฎหมายเพื่อควบคุม
                  การกอสรางอาคาร การกอสราง ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนยาย ใชหรือเปลี่ยนการใชอาคารโดยใหอํานาจหนาที่

                  ของเจาพนักงานทองถิ่นไว

                        ในกฎหมายนี้ยังใหอํานาจเจาพนักงานทองถิ่นออกประกาศหรือกฎกระทรวงหรือขอบัญญัติทองถิ่น
                  ในกรณีที่สมควรหามการกอสราง ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนยาย และใชหรือเปลี่ยนการใชอาคารในบริเวณ
                  นั้นเปนการชั่วคราวไดโดยมีกําหนดระยะเวลา 1 ป เชน ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กําหนดบริเวณ
                  หามกอสราง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ในพื้นที่บางสวนในทองที่ระหวาง

                  วันที่ ....ถึงวันที่..... (อาคารพาณิชยกรรมประเภทคาปลีกคาสง) ในจังหวัดเชียงใหม นครนายก ยโสธรและ
                  ราชบุรี เปนตน

                        3) กฎหมายปองกันการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม

                        กฎหมายการแขงขันทางการคา พ.ศ. 2542 ไดมีการปรับปรุงแกไขมาจากพระราชบัญญัติกําหนด
                  ราคาสินคาและปองกันการผูกขาด พ.ศ.  2522 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหธุรกิจมีการแขงขันอยางเสรี

                  และเปนธรรมและปองกันการผูกขาดทางการคาและจํากัดการแขงขันมีสํานักงานคณะกรรมการการแขงขัน
                  ทางการคาจะติดตามสอดสองพฤติกรรมของผูประกอบธุรกิจโดยมีการกําหนดพฤติกรรมของผูประกอบ
                  ธุรกิจที่มีลักษณะเปนการแขงขันทางการคาไมเปนธรรม ไดแก

                             (1) มีพฤติกรรมที่มีการใชอํานาจเหนือตลาดที่ไมเปนธรรม

                             (2) มีพฤติกรรมที่มีการรวมธุรกิจที่อาจมีผลตอการผูกขาดหรือความไมเปนธรรมในการแขงขัน

                             (3) มีพฤติกรรมที่รวมกันตกลงกันที่อาจมีผลเปนการผูกขาด ลดหรือจํากัดการแขงขัน

                             (4) มีพฤติกรรมที่มีการตกลงรวมกันกับผูประกอบธุรกิจนอกประเทศจํากัดโอกาสผูซื้อ
                  ภายในประเทศ

                             (5) มีการกระทําที่มิใชเปนการแขงขันโดยเสรีและเปนธรรม

                        ดังนั้น กฎหมายนี้จึงเปนเครื่องมือของรัฐในการกํากับดูแลใหการแขงขันทางการคาเปนไปดวย

                  ความเปนธรรมทางการคา

                        นอกจากนี้ ไดมีการเสนอรางกฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจคาปลีกคาสงทั้งจากรางกฎหมาย
                  ของกระทรวงพาณิชยหรือสํานักงานผูแทนการคาไทยหรือภาคประชาชน โดยเสนอรางกฎหมายเขาสู
                  กระบวนการทางนิติบัญญัติตั้งแตป พ.ศ. 2550 ตราบจนถึงทุกวันนี้รางกฎหมายดังกลาวยังไมถูกตราเปน
                          35
                  กฎหมาย34

                        ผูวิจัยพบวา กลุมเครือขายพลังขับเคลื่อนทางสังคมไดสะทอนภาพที่ตรงกันใหทราบวา ไมเชื่อมั่น
                                           36
                  กับการแกไขปญหาของภาครัฐ35  เนื่องจาก


                  35
                     รายละเอียดของรางกฎหมาย โปรดดูจากภาคผนวก.
                  36
                     โดยวิธีสัมภาษณและประชุมกลุมยอยกลุมเครือขายพลังขับเคลื่อนทางสังคม รวม 4 ภูมิภาค.
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81