Page 15 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 15

6

                  สินคาเฉพาะอยางหรือเฉพาะประเภท มีทุนในการดําเนินการนอยไมสามารถตอสูทางการคาได ตองถูก
                  ทําลายและปดกิจการไปในที่สุด

                         3) การขยายตัวของกิจการคาปลีกสมัยใหม จะสงผลกระทบตอโครงการของรัฐบาลที่มีในชุมชน เชน

                  กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ (กองทุนเงินลาน)  โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชน (S  M L)  และ
                  โครงการเศรษฐกิจพอเพียง เพราะจะสงผลกระทบตอการตอยอดเศรษฐกิจในชุมชน เมื่อผูคารายยอยในชุมชน
                  แขงขันกับหางคาปลีกสมัยใหมไมได ก็จะไมมีเงินมาใชหนี้กองทุนตางๆ ทําใหกองทุนตางๆ ลมเหลวในที่สุด

                         4) การขยายตัวของกิจการคาปลีกสมัยใหม ทําใหเปนการปลูกฝงวัฒนธรรมแบบบริโภคนิยม และ

                  สรางคานิยมแบบผิดๆ สอดแทรกมากับวัฒนธรรมที่ไมพึงประสงค เชน การนิยมใชของที่ผลิตมาจาก
                  ตางประเทศ กินอาหารตางชาติ ทําลายวิถีชีวิตแบบไทย กอใหเกิดการบริโภคแบบฟุมเฟอย ใชจายเกิน
                  ความจําเปน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่ตองตกเปนทาสของวัฒนธรรม เกิดพฤติกรรมเสี่ยงที่สรางปญหา
                  ใหกับพอแม ผูปกครอง และในภาพรวมของสังคมไทย

                         5) การขยายตัวของกิจการคาปลีกสมัยใหม ทําใหเกิดการไหลออกของเงินตราไปยังตางประเทศ

                  เพราะเจาของกิจการ หรือหุนสวนใหญ คือ คนตางชาติ ผลกําไรหรือผลประกอบการทั้งหมดที่ไดถูกสงไปยัง
                  ตางประเทศปละหลายพันลานบาท หากปลอยใหมีการขยายตัวอยางนี้ไปเรื่อยๆ คนไทยก็จะไมเหลืออะไร
                  ใหลูกหลานตอไป และเกิดการลมสลายทางเศรษฐกิจดังที่หลายประเทศในโลกประสบมาแลว

                         นอกจากนี้ กลุมผูคัดคานที่มาจากการรวมตัวที่จังหวัดสุราษฎรธานีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ ไดให
                  ขอมูลวาการขยายตัวของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญสงผลตอการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตชุมชน และเรียกรองให

                  ภาครัฐกําหนดมาตรการควบคุมหางคาปลีกสมัยใหมหยุดการขยายสาขาลงสูระดับชุมชนยอยๆ เชน ตําบล
                  และหมูบาน ซึ่งมีผลทําใหรานคาโชหวยและรานคาสง (Supplier) ตองปดกิจการ ซึ่งสงผลใหประเทศสูญเสีย
                  ความสามารถในการผลิตสินคาสงออกสูตลาดโลก จนอาจกลายเปนปญหาระดับชาติที่จะสงผลกระทบตอ
                  ประชากรในประเทศทุกคน และมีการเรียกรองใหหนวยงานราชการตองออกมาปกปองปากทองชาวบานและ

                  ดําเนินการตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่พระองคทรงตองการใหคนในชาติ
                  รักและสมัครสมานสามัคคี ชวยเหลือเกื้อกูลกันและดํารงชีวิตอยูอยางพอเพียง

                         สรุปไดวาผลกระทบที่มีตอรานคาปลีกดั้งเดิม รานคาปลีกขนาดเล็ก และรานคาปลีกขนาดกลางใน
                  ทองถิ่นตองประสบภาวะยอดขายลดหรือปดกิจการ ผลกระทบตอทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคของ
                  ประชาชน และผลกระทบตอสภาพแวดลอมของชุมชน

                         มาตรการทางกฎหมาย

                         ผูที่เกี่ยวของหลายฝายพยายามเสนอรางกฎหมายที่เรียกวา “กฎหมายวาดวยการประกอบธุรกิจ

                  การคาปลีกหรือคาสง” หรือ “กฎหมายคุมครองรานโชหวย” ซึ่งมีการเสนอรางจากทั้งฝายรัฐบาล สํานักงาน
                  ผูแทนการคาไทย และภาคประชาชน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนมาตรการทางกฎหมายเฉพาะในการจัด
                  ระเบียบการประกอบธุรกิจคาปลีกและคาสง และแกไขปญหาที่เกิดขึ้น แตจนทุกวันนี้รางกฎหมายดังกลาวยัง

                  ไมไดรับความเห็นชอบจากฝายนิติบัญญัติ  ที่ผานมาการแกไขปญหาในเบื้องตนไดกระทําแต การนํากฎหมาย
                  อื่นที่มีอยูมาใช เชน พระราชบัญญัติการแขงขันทางการคา พ.ศ. 2542 กรณีมีเหตุที่ผูประกอบธุรกิจมี
                  พฤติกรรมการแขงขันทางการคาที่ไมเปนธรรม พระราชบัญญัติวาดวยราคาสินคาและบริการ พ.ศ. 2540
                  กรณีเกี่ยวกับการกําหนดราคาสินคาที่ไมเปนธรรม หรือพระราชบัญญัติผังเมือง พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติ
                  ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535

                  ตอกรณีที่การกอสรางหรือกรณีที่หนวยงานของรัฐอนุญาตใหกอสรางที่อาจขัดตอกฎหมายเกี่ยวกับการจัด
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20