Page 10 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 10

1

                                                          บทที่ 1


                                                           บทนํา



                  1.1    หลักการและเหตุผล


                         1.1.1 สภาพปญหา


                         สืบเนื่องจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยไดบัญญัติใหรัฐตองสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ
                  แบบเสรีและเปนธรรมโดยอาศัยกลไกตลาด และสนับสนุนใหมีการพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน กลาวคือ
                  ในการสนับสนุนระบบเศรษฐกิจอยางเสรีนั้น กําหนดใหรัฐตองกํากับใหการประกอบกิจการมีการ

                  แขงขันอยางเสรีและเปนธรรม ปองกันการผูกขาดตัดตอนไมวาโดยทางตรงหรือทางออมและ
                  การคุมครองผูบริโภค สวนการสรางความเปนธรรมในระบบเศรษฐกิจไดกําหนดใหรัฐตองสนับสนุนการใช
                  หลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล ควบคูกับการประกอบกิจการ นอกจากนี้
                  ในการพัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืนไดกําหนดใหรัฐตองดําเนินการใหมีการกระจายรายไดอยางเปนธรรม

                  คุมครอง สงเสริม และขยายโอกาสในการประกอบอาชีพของประชาชนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ รวมถึง
                  การสงเสริม และสนับสนุนองคกรภาคเอกชนทางเศรษฐกิจทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่น
                  ใหมีความเขมแข็ง

                         ที่เปนเชนนี้เพราะเงื่อนไขของการปกครองระบอบประชาธิปไตยมีวาอํานาจอธิปไตยเปนของ
                  ประชาชน ดังนั้น จึงไดกําหนดถึงความสัมพันธระหวางการใชอํานาจของรัฐกับสิทธิเสรีภาพของประชาชน

                  วาการใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกรตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพตามที่
                  ไดรับการรับรองไว  ตองไดรับความคุมครองและผูกพันองคกรของรัฐทุกองคกรในการใชอํานาจ ไมวาจะ
                  เปนในการตรากฎหมาย การบังคับใชกฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง และในขณะเดียวกัน รัฐตอง

                  มีหนาที่ใหความคุมครองสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของพลเมือง
                         สําหรับกลไกทางเศรษฐกิจแบบเสรีจะเห็นไดวา ประชาชนยอมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือ

                  ประกอบอาชีพ และมีหลักประกันวา การแขงขันดังกลาวจะเปนไปโดยเสรีอยางเปนธรรม ดวยเหตุนี้ รัฐจึงมี
                  หนาที่สรางกติกาทางการคาและบรรยากาศทางการคาใหมีการแขงขันอยางเสรีระหวางภาคเอกชนดวยกัน
                  กลาวโดยเฉพาะในเรื่องของการคาโดยเสรี (Free Trade)  นั้น หมายถึง การที่รัฐจะตองไมเขาไปคาขายแขงขัน

                  กับภาคเอกชน รวมถึงการลดบทบาทของรัฐในการดําเนินกิจกรรมในการประกอบกิจการทางการคา รัฐมีบทบาท
                  เปนผูรักษากติกาเพื่อใหการแขงขันเปนไปอยางเสรีและเปนธรรมเทานั้น  สวนเรื่องการสรางความเปนธรรม
                  ทางเศรษฐกิจหรือการคาที่เปนธรรม (Fair Trade) สารานุกรมวิกิพีเดียไดอธิบายวา การคาที่เปนธรรมเปน
                  การเคลื่อนไหวเกี่ยวกับความยุติธรรมในการคา สนับสนุนมาตรฐานสากลในเรื่องแรงงาน สิ่งแวดลอมและสังคม
                  นอกจากนี้ นายมหาเธร โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย (พ.ศ. 2524 - 2546) ไดกลาวสุนทรพจนในหัวขอ

                  "ความทาทายตอกระแสโลกาภิวัตน" (Globalization  and its  challenges)  และแสดงความเห็นตอการที่
                  ไมเปนธรรมไววา การเปดเสรีการคาโลกเพื่อรับกระแสโลกาภิวัตนเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได แตการเปดเสรีทาง
                  การคา (Free Trade)  นั้น ยังไมสําคัญเทากับการคาที่เปนธรรมกับทุกฝาย (Fair Trade)  เพราะการคา

                  ที่เปนธรรมนั้นอาจกอใหเกิดการคาเสรีได แตการคาเสรีสวนใหญนั้นกอใหเกิดการคาที่ไมเปนธรรม
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15