Page 11 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 11

2

                         ประเด็นวา การคาโดยเสรีอาจเปนการคาที่ไมเปนธรรมมีหลักวา “ที่ใดมีเสรีภาพมาก ที่นั่นความเสมอภาค
                  ยิ่งลดนอยลง” และที่แหงใดก็ตามรัฐไมสามารถสรางดุลภาพของความเสมอภาคทางการคาได ที่แหงนั้นจะเกิด

                  ปญหาความเหลื่อมล้ําในทางเศรษฐกิจ จนในที่สุดอาจทําใหระบบเศรษฐกิจของประเทศเปนระบบเศรษฐกิจ
                  ที่สงเสริมและสนับสนุนตอการแขงขันเสรีอยางไมเปนธรรมได

                         รูปแบบของการคาที่ไมเปนธรรมมักจะพบอยูในระบบเศรษฐกิจที่มีกลุมทุนที่มีอํานาจผูกขาด เชน
                  อํานาจผูกขาดที่เกิดจากรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายและจากการไดรับสัมปทานของรัฐ หรือกลุมทุนขนาดใหญ
                  ที่ไดรับการสงเสริมมากกวากลุมทุนขนาดเล็ก ตลอดจนการเอื้อประโยชนทางการคาโดยผานนโยบายของรัฐ

                  ที่สนับสนุนและสงเสริมการเขามาของกลุมทุนตางชาติขนาดใหญ แตไมมีมาตรการรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้น
                  ตอกลุมทุนขนาดเล็ก ซึ่งมีผลใหกิจการที่มีขนาดเล็กไมสามารถแขงขันกับกลุมทุนใหญไดและมีแนวโนมที่เอื้อ
                  ตอพฤติกรรมการแขงขันที่ไมเปนธรรม และแมวาประเทศไทยจะมีกฎหมายวาดวยการแขงขันทางการคา

                  ตั้งแตป พ.ศ. 2542 แลวก็ตาม แตก็พบวากฎหมายดังกลาวมีปญหาในการบังคับใชกฎหมายเชนกัน
                         สถานการณของการประกอบธุรกิจคาปลีกมีขอเท็จจริงปรากฏวา ในรอบสิบกวาปที่ผานมา

                  มีกลุมทุนธุรกิจคาปลีกขนาดใหญจากตางประเทศเขามาลงทุนในตลาดคาปลีกคาสงในประเทศไทย ซึ่งการ
                  เขามาลงทุนเปนไปอยางรวดเร็ว ตอเนื่อง และรุนแรง การเขาสูตลาดของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญเชนนี้
                  มีผลกระทบตอธุรกิจคาปลีกขนาดเล็กหรือรานคาปลีกดั้งเดิม หรือที่เรียกกันวา“รานคาโชหวย”อยางที่ไม

                  อาจหลีกเลี่ยงได มีรานคาปลีกดั้งเดิมจํานวนมากตองปดกิจการอันเปนผลมาจากการขยายตัวของธุรกิจ
                  คาปลีกขนาดใหญ เหตุเพราะรานคาปลีกดั้งเดิมไมสามารถแขงขันกับธุรกิจคาปลีกขนาดใหญของกลุมทุน
                  จากตางประเทศไดในแทบทุกดาน ทั้งศักยภาพดานเงินทุน ดานเทคโนโลยี และอํานาจตอรอง นอกจาก
                  ผลกระทบโดยตรงที่มีตอรานคาปลีกดั้งเดิมแลว ยังพบวามีผลตอพฤติกรรมและทัศนคติของผูบริโภค รวมถึง

                  รูปแบบวิถีชีวิตของประชาชนอีกทางดวย ซึ่งจากการประชุมรับฟงขอมูลจากกลุมผูประกอบกิจการรานคา
                  ปลีกดั้งเดิมพบวา ธุรกิจคาปลีกขนาดใหญสงผลกระทบในหลายเรื่องดังตอไปนี้

                         1) ผลกระทบตอโครงสรางของเศรษฐกิจชุมชน กลาวคือ สงผลกระทบตอวิถีชีวิตและวงจร
                  เศรษฐกิจชุมชนที่จะถูกทําลายลงอยางสิ้นเชิง เพราะตลาดคือสังคมชุมชนอันอบอุนและเอื้ออาทรกัน
                  ระหวางพอคาแมคาและผูซื้อ ซึ่งสวนใหญจะซื้อกันเปนประจําจนกลายเปนญาติที่คุนเคยกัน ผูซื้อผูขาย

                  สามารถตอรองราคาสินคา ขอชิม แถมสินคา และซื้อเชื่อกันได ซึ่งนี่คือวัฒนธรรมไทย วิถีชีวิตไทย หรือวิถี
                  ชุมชนไทย ที่ควรไดรับการพิทักษรักษาไว

                         2) ผลกระทบตอรานคาปลีกดั้งเดิมโดยตรง กลาวคือ มีรานขายของชําและรานโชหวยจํานวนมาก
                  ตองปดกิจการ เนื่องจากขาดทุนจนไมสามารถทําการคาขายตอไปได

                         3) ผลกระทบที่ตอเนื่องจากรานคาปลีกดั้งเดิมปดกิจการ กลาวคือ เกษตรกรในชุมชนที่ปลูกพืชผัก

                  ซึ่งขายสงใหแกรานคาปลีกดั้งเดิมไมสามารถขายสินคาได ทําใหเกิดความไมมั่นคงในอาชีพการงานของ
                  พอคาแมคาและเกษตรกร และมีหลายรายตองเปลี่ยนอาชีพเนื่องมาจากภาวะขาดทุนและขายพืชผักไมได

                         4) ผลกระทบตอหลักการคาที่เปนธรรม กลาวคือ การเขาสูตลาดของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญทําให
                  เกิดพฤติกรรมทางการคาที่ไมเปนธรรม มีการผูกขาดทางการคา บีบบังคับใหโรงงานผูผลิตสินคาตองยอมรับ
                  เงื่อนไขของตน มีการผลักภาระคาใชจายตางๆ มาใหกับโรงงานผูผลิตของคนไทยไปจนถึงผูบริโภค

                         5) ผลกระทบตอสภาพแวดลอม กลาวคือ ปญหาดานการจราจรและทัศนียภาพ เปนตน

                         6) ผลกระทบอื่นๆ เชน เรื่องภาษีและคาจางแรงงานที่รานคาปลีกขามชาติจายและจางงานใน

                  ทองถิ่น เมื่อเทียบกับผลกําไรของบริษัทนับวานอยมาก ไมสามารถทดแทนการลมสลายของรานขายของชํา
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16