Page 14 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยผลกระทบธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 14

5

                  กลยุทธทางตลาด เห็นไดจากมีการเติบโตขยายกิจการอยางรวดเร็วและครอบคลุมกลุมเปาหมายทางตลาด
                  ที่กวางขวางและทุกกลุมเปาหมายมากขึ้น ตั้งแตชุมชนที่มีจํานวนประชากรหนาแนนไปยังชุมชนขนาดยอย

                  หรือที่เรียกวานโยบาย “ยอขนาด” (Downsizing)  จากขอมูลพบวา ในป พ.ศ. 2555 หางคาปลีกเทสโก
                  โลตัสมีแผนการขยายสาขา โดยมีงบประมาณสําหรับการลงทุนเปนจํานวนเงินที่ไมต่ํากวา 7,000 ลานบาท
                  เพื่อเปดสาขาใหมกวา 300 สาขา และการเปดสาขาใหมนี้มีเปาหมายที่จะใหครอบคลุมรูปแบบทางธุรกิจ

                  ของเทสโกโลตัสทุกประเภท ไมวารูปแบบตลาดโลตัส โลตัสเอ็กซเพรส เทสโกโลตัสเอ็กซตรา เชนเดียวกันกับ
                  รายของบริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ที่ไดมีการเปดเผยวา บริษัทฯ มีแผนการลงทุนระยะยาว
                  ในประเทศไทย ป พ.ศ. 2555 - 2559 โดยจะมีการขยายสาขาใหบริการเพิ่มขึ้นมากกวาเดิมหลายเทาตัวจาก
                  ที่มีสาขาเปดใหบริการ รวม 238 สาขา ในป พ.ศ. 2553 เปน 950 สาขา โดยมีเปาหมายวาบริษัทจะเปนผูนํา
                  ทางตลาดของหางคาปลีกของไทย นอกจากการมีแผนการลงทุนอยางชัดเจนแลว ตลอดชวงเวลาที่ผานมา

                  ในตลาดคาปลีกขนาดใหญมีการแขงขันกันสูงมาก ทั้งเรื่องราคา คุณภาพ ปริมาณ และกลยุทธทางการตลาด
                  มีการใชสื่อโฆษณา เทคโนโลยีที่ทันสมัย การผลิตสินคาในชื่อตนเองเขามาใชในการแขงขันทางการคารานคา
                  ปลีกสมัยใหม จนในที่สุดธุรกิจคาปลีกขนาดใหญกลายเปนผูนําของตลาดคาปลีกแทนที่หางสรรพสินคา
                                     1
                  ทองถิ่นของกลุมทุนไทย0
                         ผลกระทบตอรานคาปลีกดั้งเดิม


                         การแขงขันกันระหวางธุรกิจคาปลีกขนาดใหญเพื่อชวงชิงอํานาจเหนือตลาดในกลุมทุนธุรกิจคาปลีก
                  ขนาดใหญเดียวกันมิไดสงผลตอธุรกิจคาปลีกที่มีระดับเดียวกันเทานั้น ยิ่งธุรกิจคาปลีกขนาดใหญมีการ
                  แขงขันกันมากเทาไหร ยอมสงผลทําใหรานคาปลีกดั้งเดิม หรือรานคาโชหวย ที่มิใชเปนคูแขงทางการคา
                  โดยตรงของธุรกิจคาปลีกขนาดใหญตองรับผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงมิได เนื่องจากไมสามารถแขงขันกับ

                  ธุรกิจคาปลีกขนาดใหญไดเลย เพราะมีความเสียเปรียบในแทบทุกดาน ไมวาทางดานเทคโนโลยีขั้นสูง
                  อํานาจตอรองราคา โดยเฉพาะศักยภาพดานทุน ดังนั้น ในหลายปที่ผานมา จึงเห็นบรรดาผูประกอบกิจการ
                  รานคาปลีกดั้งเดิม หรือรานโชหวย ไดรวมตัวกันเพื่อตอตานและคัดคานการขยายตัวของธุรกิจคาปลีก
                  ขนาดใหญ อยางเชน เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 มีการรวมกลุมของชุมชนเทศบาลนครนครราชสีมาและ

                  บรรดารานคาปลีกรายยอยในจังหวัดนครราชสีมา โดยมีการระบุวา การที่หางคาปลีกสมัยใหม (Modern
                  Trade)  ของตางชาติ ไดขยายตัวเขามาเปดดําเนินกิจการในรูปแบบเอ็กซเพรสในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา
                  แลวจํานวนหลายพื้นที่ดวยกัน เชน อําเภอปากชอง ตําบลดานเกวียน ตําบลจอหอหรือตลาดเซฟวัน และ
                  มีเปาหมายในการที่จะขยายสาขาในรูปแบบดังกลาว ไมนอยกวา 12 สาขา ในจังหวัดนครราชสีมา

                  การขยายตัวดังกลาวถูกกลาวหาวา กอใหเกิดผลกระทบกับชุมชน ไดแก

                         1) กิจการคาปลีกสมัยใหม มีวิธีการกระตุนการตลาด กระตุนยอดขาย ขายลดราคาต่ํากวาทุน
                  ผลิตสินคาในยี่หอของตนเองคราวละมากๆ เพื่อขายในราคาถูก และอื่นๆ กระทั่งทําใหกิจการของชุมชน
                  ไมสามารถที่จะตอสูทางการคาไดและลมสลายไปในที่สุด

                         2) กิจการคาปลีกสมัยใหม มีการขายสินคาทุกประเภท เสมือนหนึ่งเปนการผูกขาดทางการคา

                  สามารถกําหนดปริมาณ ราคา และรูปแบบในการขายได ทําใหรานคาปลีกที่มีอยูดั้งเดิมในชุมชนที่มีการขาย

                  1
                     นิพนธ พัวพงศกร, การคาปลีกของไทย : ผลกระทบของการแขงขันจากผูประกอบการคาปลีกขนาดใหญจาก
                  ตางประเทศ [ออนไลน], 11 พฤศจิกายน 2556, แหลงที่มา http://www.dric.nrct.go.th/bookdetail.php?book_id

                  =128217.
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19